ไฮโดรคาร์บอนคืออะไร มีกลุ่มไหนบ้าง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ไฮโดรคาร์บอนคืออะไร มีกลุ่มไหนบ้าง by Mind Map: ไฮโดรคาร์บอนคืออะไร มีกลุ่มไหนบ้าง

1. เวลาอ่านชื่อ(IUPAC)ให้นับตำเเหน่งและเขียนหมู่แอลคิลเหมือนเดิม แต่สารด้านหลังต้องเปลี่ยนเป็น -yne

2. Alkyne (พันธะสาม)

2.1. พันธะสาม ทำมุม 180 องศา

2.2. เป็นสาร HC ไม่อิ่มตัว

2.3. ไม่ละลายน้ำ

2.4. จุดหลอมเหลวจุดเดือด จะเพิ่มขึ้นตามมวลอะตอมของคาร์บอน เหมือนแอลเคนและเอลคีน

2.5. ฟอกจางสีโบรมีนได้และโพแทสเซียมเปอร์แมงการ์เนตได้เช่นเดียวกัน

2.6. แก๊ส อีไทน์ นำมาใช้ในการ เชื่อมและตักโลหะ, เร่งดอกของพืช, ทำพืชให้สุกเร็วขึ้น

2.7. แอลไคน์ ที่คนรุ้จัก คือ อีไทน์ ชื่อสามัญว่า อะเซทิลีน เป็นแก๊ส

3. Aromatic (เเบบวง)

3.1. พันธะคู่ในอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนเสถียรมาก จึงไม่เกิดปฏิกิริยาที่พันธะคู่

3.1.1. ไม่ฟอกจางสีของ KMnO4

3.1.2. ไม่เกิดปฏิกิริยาการเติมกับ H2 หรือ Br2 ภายใต้สภาวะเดียวกับแอลคีน

3.2. มีวงแหวนเบนซีนเป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย

3.3. เป็นสาร HC ที่ไม่อิ่มตัว

3.4. ปฏิกิริยาส่วนใหญ่คล้ายแอลเคน คือ เกิดปฏิกิริยาแทนที่

3.4.1. โดยมีผงเหล็กหรือ FeCl3 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา

3.5. ไม่ละลายน้ำ มีกลิ่นเฉพาะตัว

3.6. การเผาไหม้ ติดไฟให้เขม่าและควันมาก

3.6.1. ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และไอน้ำ

3.7. ทำปฏิกิริยากับ H2SO4 เข้มข้น

3.8. เกิดปฏิกิริยากับกรดไนตริก HNO3

3.8.1. มีกรดซัลฟิวริก H2SO4 เข้มข้น เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา

3.8.2. ได้ไนโตรเบนซีน

3.9. สารประกอบอะโรมาติกตัวแรก คือ เบนซีน

3.10. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำ เมื่อเทียบกับ สารอื่นๆ ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน

3.11. เวลาอ่านชื่อ(IUPAC)ให้นับตำเเหน่งและเขียนหมู่แอลคิลเหมือนเดิม แต่ใช้เบนซีนเป็นชื่อหลัก

4. คืออะไร

4.1. เป็นสารประกอบอินทรีย์ซึ่งประกอบขึ้นจากไฮโดรเจนและคาร์บอนทั้งหมด ไฮโดรคาร์บอนที่อะตอมไฮโดรเจนหนึ่งอะตอมถูกนำออกเป็นหมู่ฟังก์ชัน เรียก ไฮโดรคาร์บิล

5. Alkane (พันธะเดี่ยว)

5.1. พันธะเดี่ยว ทำมุม 109.5 องศา

5.2. ไม่มีขั้ว จึงไม่ละลายน้ำ

5.3. เป็นสาร HC อิ่มตัว

5.4. มีการเผาไหม้สมบูรณ์

5.5. เมื่อมี C จำนวน 1-4 จะเป็น แก๊ส จำนวน 5-16 จะเป็น ของเหลว จำนวน 18-20 จะเป็น ของแข็ง

5.6. ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้า ผลิตพลาสติก เป็นตัวทำละลาย

5.7. เวลาอ่านชื่อ(IUPAC)ให้นับตำเเหน่งและเขียนหมู่แอลคิลเหมือนเดิม แต่สารด้านหลังต้องเปลี่ยนเป็น -ane

5.8. ทำปฏิกริยากับ โบรมีน ในที่สว่าง ได้แก๊สที่เป็นกรด

5.8.1. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง

5.9. เกิด ปฏิกริยา แทนที่ กับโบรมีน ธาตุแฮโลเจน

5.10. คาร์บอนเพิ่มขึ้น มวลเพิ่มขึ้นด้วย จุดหลอมเหลวจุดเดือดสูง

6. Alkene (พันธะคู่)

6.1. พันธะคู่ ทำมุม 120 องศา

6.2. เป็นสาร HC ไม่อิ่มตัว

6.3. ไม่ละลายน้ำ

6.4. ทำปฏิกิริยากับโบรมีนทั้งที่สว่างและมืด

6.4.1. ไม่เกิดแก๊สที่มีสมบัติเป็นกรด

6.5. ฟอกจางโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตได้

6.6. คาร์บอนเพิ่มขึ้น มวลเพิ่มขึ้นด้วย จุดหลอมเหลวจุดเดือดสูง

6.7. เมื่อมี C จำนวน 2-4 จะเป็นแก๊ส 5-8 จะเป็นของเหลว

6.8. อีทีน และโพรพีน ใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตพอลิเมอร์ประเภท พอลิเอทิลีนและพอลิโพรพิลีน

6.9. เวลาอ่านชื่อ(IUPAC)ให้นับตำเเหน่งและเขียนหมู่แอลคิลเหมือนเดิม แต่สารด้านหลังต้องเปลี่ยนเป็น -ene