Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Asthma by Mind Map: Asthma

1. กลไกการเกิดโรค

1.1. การอักเสบของหลอดลมแบบเฉียบพลัน

1.1.1. เมื่อผู้ป่วยสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้จะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้กล้ามเนื้อหดเกร็ง หลั่งน้ำมูก หลอดเลือดขยายตัว ในบางรายการอักเสบของหลอดลมจะเป็บแบบเรื้อรัง

1.2. การอักเสบของหลอดลมเรื้อรัง

1.2.1. จะมีเซลล์จำนวนมากจะหลังสารmediatorและโปรตีนที่เป็นพิษทำให้เส้นเลือดมีรูรั่ว น้ำมูกหลั่งมากขึ้น กล้ามเนื้อเกร็งตัว และเซลล์บุหลอดลมหลุดร่วง ทำให้หลอดลมอักเสบเป็นไปอย่างต่อเนื่อง

1.3. การซ่อมสร้างหลอดลม

1.3.1. เมื่อเกิดการอักเสบเรื้อรังจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงของหลอดลมโดยผนังหลอดลมจะถูกทดแทนโดยเนื้อเยื่อชนิดใหม่กลายเป็ นพังผืด (Fibrosis) กล้ามเนื้อหลอดลมหนาตัวขึ้นและต่อมมูก (mucous glang) เพิ่มจํานวนมากขึ้น เซลที่มีความสําคัญต่อการซ่อมสร้างหลอดลม คือ เซลล์บุหลอดลม (epithelial cells) จะหลังสารซึ่งก ่ ่อให้เกิดการซ่อมสร้างและเกิดพังผืดที่ผนังหลอดลม

2. แนวทางการรักษา

2.1. ผู้ป่วยยังไม่ดีขึ้น

2.1.1. พ่นยาVentorin 1 ml ผสม 0.9% Nss 3ml ทางเครื่องพ่นยาให้เป็นระอองฝอย

2.1.2. พ่นยา Beradual 2mlผสม0.9% Nss 2ml ทางเครื่องพ่นยา 2ครั้ง

2.1.3. ฉีดยา Dexamehasone 10 mg ทางIV 1ครั้ง

2.1.4. On oxygen cannula 3l/min

2.2. รักษาต่อที่หอผู้ป่วย วิกฤต

2.2.1. ออกซิเจนทางหน้ากากแบบใช้เครื่องช่วยหายใจ(Non invasive)

2.2.1.1. ช่วงเวลาในการหายใจเข้าต่อช่วงเวลาในการหายใจออก(i:E)เท่ากับ1:1.7

2.2.1.2. ปริมาตรอากาศในการหายใจเข้าออก(Tidal Volume)ของผู้ป่วยแต่ละครั้งมีค่าประท่ณ600-700ml

2.2.2. พ่นยาพ่นยา Beradual 2mlผสม0.9% Nss 2ml พ่นทางเครื่องพ่นยาทุก2ชม

2.2.3. ฉีดยา Dexamehasone 5 mg ทางหลอดเลือดดำทุก6ชม.

2.2.4. ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำชนิด5%D/N/2 1000ml rate 80ml/hr

2.2.5. งดน้ำงดอาหารยกเว้นยาmeptin ครั้งละ1เม็ด วันละ2ครั้งก่อนอาหารเช้าเย็น บันทึกIO

2.2.6. เช้าวันรุ่งขึ้น

2.2.6.1. พ่นยาขยายหลอดลมพ่นยาพ่นBeradual 2mlผสม0.9% Nss 2ml พ่นทางเครื่องพ่นยาทุก2ชม

2.2.6.2. ฉีดยา Dexamehasone 5 mg ทางหลอดเลือดดำทุก8ชม

2.2.6.3. สารน้ำหมดให้เปลี่ยนเป็นNss lock

3. ข้อมูลสนับสนุน

3.1. หายใจหอบเหนื่อย เร็วลึก

3.2. ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงวี๊ดทั้ง2ข้าง

3.3. O2 sat ก่อนมาดรงพยาบาล1ชม 92%

3.4. มีเสมหะในลำคอ ไอออกมาไม่ได้

3.5. อัตราการหายใจแรกรับ30ครั้ง/นาที

3.6. ค่าWBC 13600cell/mm

3.7. อุณหภูมิร่างกายมากกว่า37.4 องศา

4. วัตถุประสงค์ของการพยาบาล

4.1. ไม่มีการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ

4.2. ร่างกายได้รับออกวิเจนอย่างเพียงพอ

4.3. ลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย

4.4. ขาดความรู้ในการดูแลตนเองหลังกับไปอบู่บ้าน

5. อาการ

5.1. ก่อนมาโรงพยาบาล

5.1.1. หายใจเร็วหอบลึก

5.1.2. หายใจหอบเหนื่อย 1ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

5.1.3. ไอมีเสมหะอยู่ในลำคอ ไอออกมาไม่ได้

5.2. แรกรับห้องฉุกเฉิน

5.2.1. ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงวี๊ดทั้ง2ข้าง

5.2.2. หายใจหอบ เร็วลึก

5.2.3. อุณหภูมิ 37.6 องศา ชีพจร114ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ30ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 139/90mmHg O2 sat 92%

5.3. หอผู้ป่วยวิกฤต

5.3.1. แรกรับหายใจหอบเหนื่อย อุณหภูมิ37.7 องศา ชีพจร 132 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 24 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 111/54 mmHg O2 100%

5.3.2. หลังรับO2 เพียงพอ หายใจหอบเหนื่อยลดลงอุณหภูมิ37องศา ชีพจร 110 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 100/66 mmHg O2 sat98%

5.3.3. วันรุ่งขึ้น หายใจไม่หอบเหนื่อยอุณหภูมิ37.8องศา ชีพจร 134 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 106/48mmHg O2 98%

5.4. หอผู้ป่วยสามัญ

5.4.1. หอบเหนื่อยลดลง ไม่เสียงวี๊ด ไม่ต้องใช้เครื่องให้ออกซิเจนอุณหภูมิ37.องศา ชีพจร 100 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 120/60 mmHg O2 97%

6. สาเหตุ

6.1. สาเหตุภายนอก

6.1.1. แพ้สารต่างๆ

6.1.2. ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัวเป็นโรคหอบหืด

6.1.3. สูดดมหรือหายใจ

6.1.3.1. ฝุ่นละออง

6.1.3.1.1. สัมผัสฝุ่นจากพลาสติกจากอาชีพของผู้ป่วย

6.1.3.2. เกสรดอกไม้

6.1.3.3. ขนสัตว์

6.1.3.4. กลิ่นบุหรี่

6.1.3.4.1. มีการสูบดมควันบุหรีจากที่สามีสูบทุกวัน

6.1.3.5. ความชื้น ความเย็น

6.1.3.6. สารเคมีต่างๆ

6.1.4. การรับประทานอาหาร

6.1.4.1. นม

6.1.4.2. เนื้อสัตว์

6.1.4.3. อาหารทะเล

6.1.4.4. ถั่วต่างๆ

6.2. สาเหตุภายใน

6.2.1. มีประวัติติดเชื้อบ่อยๆหรือเรื้อรัง

6.2.1.1. หลอดลมอักเสบ

6.2.1.2. โพรงอากาศรอบจมูกอักเสบ

6.2.1.3. เป็นหวัด

6.2.2. ภาวะที่ไปกระตุ้นให้เกิด

6.2.2.1. ความเครียด สภาพจิตใจควาทวิตกกังวล

7. พยาธิสรีรวิทยา

7.1. ในผู้ป่วยหอบหืดนั้นการตีบของหลอดลมทำให้เกิดความต้านทาน (airway resistance) เพิ่มสูงขึ้นทำให้มีผลต่อการหายใจออก (expiration) เกิดเป็นเสียงหวีดส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนกาซที่ไม่สมดุล (ventilation perfusion mismatch) และมีภาวะพร่องออกซิเจนในเลือดตามมาการตีบของหลอดลมในผู้ป่วยหอบหืดนั้นเกิดได้จากกลไกที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมนั้นมีการหดเกร็งตัวผิดปกติ (abnormal smooth muscle contraction) การอักเสบของเยื่อบุหลอดลม (mucosal edema and inflammation) ทำให้มีการบวมของเยื่อบุหลอดลมและการมีเสมหะอุดในหลอดลม (mucus plugging)

7.2. กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมหดตัวต่อมที่ผนังหลอดลมขับมูกออกมามากผนังหลอดลมบวมและมีภาวะโลหิตคั่ง

7.2.1. การแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ผิดไปจากปกติ

8. ข้อวินิจฉัยการพยาบาล

8.1. ภาวะพร่องออกซิเจนจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง

8.2. ติดเชื้อระบบทางเดิน

8.3. หายใจเสี่ยงต่อภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจจากหอบหืด

8.4. วิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย

8.5. พร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวให้เหมาะสมกับโรคหอบหืด

9. เกณฑ์การประเมินผล

9.1. ค่าสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ

9.1.1. ชีพจร 60-100ครั้ง/นาที

9.1.2. อัตราการหายใจ 16-24 ครั้ง2นาที

9.1.3. ความดันโลหิต

9.1.3.1. Systolic 90-140 mmHg

9.1.3.2. Diastolic 60-90mmHg

9.1.4. O2 sat 95%

9.2. ค่าWBCปกติ 5000-11000 cell/mm

9.3. ปริมาณเสมหะลดลง

9.4. ฟังปอดไม่ได้ยินเสียงวี๊ด

9.5. ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น ยิ้มแย้มแจ่มใส

9.6. ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีปฎิตนหลังกลับไปอยู่บ้านได้

10. กิจกรรมการพยาบาล

10.1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและญาติการพูดคุยเอาใจใส่สอบถามอาการอย่างเป็นกันเองและอัธยาศัยที่ดีช่วยเหลือผู้ป่วยเปลี่ยนเสื้อผ้าแนะนำระเบียบการอยู่โรงพยาบาลและข้อจำกัดในการเข้าเยี่ยมผู้ป่วย

10.2. ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียงดูแลให้ออกซิเจนทางหน้ากากแบบใช้เครื่องช่วยหายใจ (Non Invasive)

10.3. ระยะแรกผู้ป่วยรู้สึกอึดอัดกลัวการหายใจในที่แคบๆผ่านหน้ากากให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง

10.4. ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวขณะใช้เครื่องช่วยหายใจให้กำลังใจผู้ป่วยเพื่อลดความวิตกกังวลหลังจากพูดคุยและให้คำแนะนำผู้ป่วยวิตกกังวลลดลงให้ความร่วมมือดีหายใจสัมพันธ์กับเครื่องช่วยหายใจปริมาตรอากาศในการหายใจเข้าออกของผู้ป่วยแต่ละครั้งมีค่าประมาณ 600-700 ml

10.5. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ ให้พักผ่อนและจำกัดการทำกิจกรรมเพื่อลดการใช้O2

10.6. สังเกตอาการที่แสดงถึงการรับออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่น หัวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย สับสน ปวดศีรษะ วิงเวียน เหงื่อออก ระดับความรู้สูกตัวลดลง

10.7. ติดตามสัญญาณชีพ สังเกตอาการที่บ่งบอกถึงอาการติดเชื้อ เช่น อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำ สังเกตสีและปริมาณของเสมหะ เก็บเสมหะส่งตรวจและติดตามผล

10.8. สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ ดูแลความสะอาดช่องปาก แนะนำให้จิบน้ำอุ่นบ่อยๆ รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่ายและทานยาตามแผนการรักาา

10.9. ให้คำแนะนำหลังกลับไปอยู๋บ้าน หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้จากการทำงาน แนะนำให้ใช้ผ้าปิดจมูกขณทำงาน แนะนำไม่ควรอยู่ในที่อากาศเย็นจัด ร้อนจัด หรือลมที่ปะทะโดยตรงเป็นเวลานาน