ปฎิบัติการที่5 ค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์
by Best IC
1. วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อหาค่าคงที่ผลคูณการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์
1.2. เพื่อศึกษาอิทธิผลของไอออนร่วมที่มีผลต่อสมดุลการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์
2. สารเคมี
2.1. สารละลายอิ่มตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ เตรียมโดยการละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 3กรัมในน้ำ1ลิตร
2.2. สารละลายกรดเกลือเจือจางความเข้มข้นเกลือเจือจาง
2.3. สารละลายฟินอล์ฟธาลีน
2.4. ผงแคลเซียมคลอไรด์
3. ผลของไอออนร่วมต่อค่า Ksp
3.1. ปิเปตสารละลายตอนที่1มา 15 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใสขวดรูปชมพู่จากนั้นเติมแคลเซียมคลอไรด์ ลงไป 0.25 กรัม แกว่งขวดรูปชมพู่ สารละลายมีสีขุ่น กรองตะกอนออกเอาส่วนใสมาทำการไทเทรตเพื่อหาความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์เหมือนตอนที่2
3.2. เปรียบเทียบความเข้มข้นของไอออนแต่ละชนิด( แคลเซียมและไฮดรอกไซด์ ) เมื่อมีการเติมแคลเซียมคลอไรด์(ตอนที่3 ข้อ1)และเมื่อไม่มีการเติม(ตอนที่2)
3.3. คำนวณค่า Ksp เปรียบเทียบกับข้อ 5 ตอนที่ 2
4. เครื่องมือและอุปกรณ์
4.1. ขวดชมพู่
4.2. บิวเรต
4.3. กรวยแก้วและกระดาษกรองเบอร์1
4.4. ปิเปต
4.5. กระบอกตวง
4.6. บีกเกอร์
5. สรุปการทดลอง
5.1. ค่า Ksp เมื่อยังไม่เติม แคลเซียมคลอไรด์ = 2.45×10*(-5) ค่า Kspเติม แคลเซียมคลอไรด์ = 4×10*(-6)
5.2. ความสามารถในการละลาย ( s ) ของแคลเซียมไฮดรอกไซด์เมื่อยังไม่เติมแคลเซียมคลอไรด์ = 0.02 โมลต่อลิตร ความสามารถในการละลาย ( s ) ของแคลเซียมไฮดรอกไซด์เติมแคลเซียมคลอไรด์ = 0.01 โมลต่อลิตร