การเจริญเติบโตและพัฒนาการ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ by Mind Map: การเจริญเติบโตและพัฒนาการ

1. ความความต้องการ สารอาหาในเด็กแต่ละวัย

1.1. ทารกต้องการพลังงาน 100 Kcal/kg/day

1.1.1. แหล่งพลังงาน คือ นมแม่

1.1.1.1. โปรตีนสูง

1.1.1.2. มีภูมิคุ้มกันชนิด Alpha-lactabumin

1.1.1.3. ไม่มี beta-lactoglobulin ทำให้ทารกไม่เกิดโรคภูมิแพ้

1.1.2. 6 เดือนแรก กินแต่นมแม่

1.2. สูตรคำนวณนมแม่

1.2.1. ทารกคลอดครบกำหนด 1 ออนซ์จะมี 20 cal

1.2.2. ทารกคลอดก่อนกำหนด 1 ออนซ์จะมี 24 cal

1.2.3. ทารกต้องการพลังงาน 100 Kcal/kg/day

1.2.4. ใช้สูตร Holiday and segar

1.2.4.1. 10 kg = 100 kcal/kg/day

1.2.4.2. 10 kgต่อมา = 50 kcal/kg/day

1.2.4.3. นำ้หนักที่เหลือ = 20 kcal/kg/day

1.3. ความต้องการสารอาหารในวัยรุ่น

1.3.1. ต้องการพลังงาน 1600-2300 Kcal/kg/day

1.3.2. อาหารที่จำเป็นอย่างยิ่ง

1.3.2.1. ธาตุเหล็ก

1.3.2.1.1. โดยเฉพาะในเพศหญิง

1.3.2.2. แคลเซียม

1.3.2.2.1. หากรับไม่เพียงพอเสี่่งต่อโรคกระดูกพรุน

1.3.2.3. วิตามินเค

2. การเจริญเติบโต

2.1. การเพิ่มของเซลล์มีผลให้ส่วนสูงและนำ้หนักเพิ่มขึ้น

2.2. การชั่งน้ำหนัก (Weight)

2.2.1. ใช้บอกความรุนแรงของโรคขาดสารอาหาร

2.2.2. สูตรคำนวณนำ้หนัก

2.2.2.1. 3-12 เดือน = (อายุ(เดือน) + 9) / 2

2.2.2.2. อายุ 1-6 ปี= (อายุเป็นปี คูณ 2) +8 กิโลกรัม

2.2.2.3. ออายุ 7-12 ปี= (อายุเป็นปี คูณ 7 ) -5 /2

2.2.2.4. เปอร์เซ็นไทล์นำ้หนัก (100*นำ้หนักที่ชั่งได้/นำ้หนักที่คำนวณได้

2.2.2.4.1. เปรียบเทียบ

2.2.3. การเปลี่ยนแปลงของนำ้หนักทารกแรกเกิด

2.2.3.1. แรกเกิด= 3 กิโลกรัม

2.2.3.2. 5-6 เดือo= 2 เท่าของแรกเกิด

2.2.3.3. 1 ปี= 3 เท่าของแรกเกิด

2.2.3.4. 2 ปี= 4 เท่าของแรกเกิด

2.2.3.5. 7 ปี= 7เท่าของแรกเกิด

2.3. การวัดส่วนสูง (Length or Height)

2.3.1. บอกความรุนแรงโรคขาดสารอาหาร

2.3.2. ไม่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงเหมือนน้ำหนัก

2.3.3. การเพิ่มของส่วนสูง

2.3.3.1. 6 เดือนแรกเพิ่มเดือนละ 2.5 cm.

2.3.3.2. 6 เดือนหลัง เพิ่มเดือนละ 1.5 cm.

2.3.4. สูตรคำนวณส่วนสูง

2.3.4.1. 2-12 ปี [อายุ(ปี)*6] +77

2.3.4.2. เปอร์เซ็นไทล์ส่วนสูง (100*ส่วนสูงที่วัดได้)/ส่วนสูงคำนวนได้

2.3.4.2.1. เกณฑ์มาตรฐาน คือ 95 ตำ่กว่านั้นคือเตี้ย

2.4. การวัดเส้นรอบศีรษะ (head circumference)

2.4.1. ขนาดเส้นรอบศีรษะมีความสัมพันธ์กับขนาด ของสมอง ช่วยในการวินิจฉัยระบบประสาท

2.4.2. การเพิ่มรอบศีรษะ

2.4.2.1. แรกเกิดความยาว HC = 35 cm.

2.4.2.2. 6 เดือนแรก เพิ่มขึ้นเดือนละ 1.5 cm.

2.4.2.3. 6 เดือนหลัง เพิ่มขึ้นเดือนละ 0.5 cm.

2.4.2.4. 2 ขวบ เพิ่มขึ้นปีละ 2-3 cm.

2.4.2.5. 3 ขวบ เพิ่มขึ้นปีละ 0.5-2 cm.

2.4.2.6. 3-10 ปี จะเพิ่มขึ้น 1 cm. ทุกๆ 3 ปี

2.4.3. วิธีการวัด

2.4.3.1. occipito-frontal circumference

2.4.3.1.1. ทาบสายวัดจากท้ายทอยส่วนที่โผล่ยื่นที่สุด ของกะโหลกศีรษะ (occipital lobe) มายังด้านหน้าผ่านเหนือใบหู-เหนือคิ้ว-ส่วนหน้าผาก

3. การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก การให้นม อาหารเสริม

3.1. หลักการให้นมแม่

3.1.1. ต้องให้ทารกดูดให้เกลี้ยงเต้า

3.1.1.1. เพื่อให้ทารกได้ทั้งนมส่วนหน้าและส่วนหลัง

3.1.2. มื้อถัดไปให้ดูดสลับข้างกัน

3.2. นมที่ไม่เหมาะแก่ทารก

3.2.1. นมเปรี้ยว

3.2.1.1. มีรสหวานทำให้ฟันผุ

3.2.1.2. เด็กมีโภชนาการเกิน

3.2.2. นมวัว

3.2.2.1. นมวัวมีสารอาหารมากเกิน และขาดแร่ธาตุFe

3.2.2.2. ในทารกการทำงานของลำไส้ และไตยังไม่ดี

3.2.2.2.1. ท้องเสีย

3.2.2.2.2. ไตทำงานหนัก

3.3. อาหารเสริมในทารก

3.3.1. 6 เดือนแรก กินแต่นมแม่

3.3.2. 6 เดือนหลัง เริ่มให้อาหารเสริม+นมแม่

3.3.2.1. ควรให้มื้อเย็นเด็กจะได้อิ่มลดการดูดนมกลางคืน

3.3.2.2. 6 เดือน

3.3.2.2.1. ให้ 1 มื้อ บดข้าวระเอียด 3 ช้อน เน้นไข่แดง 1/2ฟอง ตับบด ไม่ให้ไข่ขาวกลัวแพ้สารในไข่ขาว

3.3.2.3. 7 เดือน

3.3.2.3.1. ให้ 1 มื้อ บดข้าวระเอียด 4 ช้อน เน้นไข่แดง 1/2 ฟอง ปลา 2ช้อน หมู 2 ช้อน ผักสุก 1/2 ช้อน ฟักทอง 1/2 ช้อน

3.3.2.4. 8-9 เดือน

3.3.2.4.1. ให้ 2 มื้อ บดหยาบหรือต้ม ตุ๋นเละๆ เริ่มให้ไข่ไก่ 1 ฟอง

3.3.2.5. 10-12 เดือน

3.3.2.5.1. ให้ 3 มื้อ เริ่มข้าวต้มหรือข้าวสวยนุ่มๆ

3.4. คำแนะสำหรับการให้อาหารเสริมในเด็ก

3.4.1. ให้ปริมาณน้อยๆ แต่ละชนิดควรห่าง 4-7 วัน หากแพ้อาหารให้งดทันที

3.4.2. ให้ทานจากช้อนเพื่อให้ได้รับอาหารที่สะอาด ฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก

3.4.3. ให้อาหารก่อนให้นม หรือให้ในขณะที่ทารกกำลังหิว เพราะถ้าทารกอิ่มจะปฏิเสธอาหารเสริม

3.4.4. ครั้งแรกควรบดให้ละเอียดลื่นลงคอ หากฟันเริ่มขึ้นเริ่มบดหยาบได้

3.4.5. ไม่บังคับหรือทำโทษหากทารกปฎิเสธการกินอาหาร

3.4.6. ทารกจะมีปฎิกริยา (Extrusion reflex) ห่อปากเอาลิ้นดุ้นอาหารออก ทารถไม่ได้ปฎิเสธอาหาร

3.4.6.1. วิธีแก้ใส่อาหารที่ปลายช้อนเล็ก หลีกเลี่ยงการให้บริเวณปลายลิ้นทารก ทารกจะกินอาหารได้

3.4.7. เมื่อทารกเริ่มกินอาหารเสริมได้ ให้ลดปริมาณนมป้องกันโภชนาการเกิน

4. ปัญหาโภชนาการในเด็กและการดูแล

4.1. โรคโลหิตจางจากการขาดเหล็ก

4.1.1. สาเหตุ

4.1.1.1. ได้รับอาหารที่มีเหล็กไม่เพียงพอ

4.1.1.2. พยาธิปากขอ

4.1.1.3. มีความผิดปกติในการย่อยและดูดซึมเหล็ก

4.1.2. ผลกระทบ

4.1.2.1. ร่างกายรับออกซิเจนไม่เพียงพอ

4.1.2.2. ติดเชื้อง่าย ผิวหนังและเยื่อบุต่างๆลดความทนทานต่อเชื้อรา

4.1.2.3. การเรียนรู้ การสนใจ ความตั้งใจ ความเฉลียวฉลาด ความว่องไวลดลง

4.1.3. อาหารFeสูง

4.1.3.1. ตับ ไข่แดง เนื้อสัตว์ ใบกระเพราะ ใบแมงลัก ผักกูด ผักแว่น เห็ดฟาง พริกหวาน

4.1.3.2. กินอาหารวิตามินซีสูง ช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก

4.2. โรคเหน็บชาจากการขาดวิตามินบีหนึ่ง

4.2.1. สาเหตุ

4.2.1.1. กิน บี1 น้อย เช่นข้าวขัดสี กินอาหารแสลง เช่น ปลาร้า มีสารThiaminase ทำลายบี 1

4.2.2. อาการ

4.2.2.1. ทารก ร้องกวน หอบเหนื่อย อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว ตัวเขียว ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะตายภายใน 2-3 ชม. เสียงแหบ ไม่มีเสียงเวลาร้อง มือเท้าเคลื่อนไหวแบบไม่ตั้งใจ หนังตาบนตก ชัก

4.2.3. อาหารบี1สูง

4.2.3.1. เนื้อหมู ถั่งเหลือง

4.3. โรคปากนกกระจอกจากขาดวิตามินบีสอง

4.3.1. สาเหตุ

4.3.1.1. กินอาหารที่มีวิตามินบีสองน้อย

4.3.2. อาการ

4.3.2.1. ปากมีรอยแผลแตกที่มุมปาก Angular stomatitis ลิ้นบวมแดง

4.3.2.2. ระคายเคืองตา น้ำตาไหล ไม่กล้าสู้แสง มองอะไรไม่ค่อยชัด

4.3.3. อาหารบี2สูง

4.3.3.1. ผักใบเขียว ถั่ว นม เนื้อสัตว์ ไข่แดงและตับ

4.3.3.2. ดื่มนำ้เปล่ามากๆ

4.3.3.3. ดูแลความสะอาดในช่องปากเป็นประจำ ไม่เลียปาก

4.4. โรคตาบอดแสงจากขาดวิตามินเอ

4.4.1. โรคที่พบบ่อย

4.4.1.1. ตาบอดตอนกลางคืน night blindess

4.4.1.1.1. พบบ่อยในเด็กอายุ 1-5 ปี

4.4.1.2. เยื่อกระจกตาผิดปกติ Xerothalmia

4.4.1.3. กระจกตาทะลุ Keratomalacia

4.4.2. อาหารเอสูง

4.4.2.1. ไข่แดง นำ้มันตับปลา ตับ พืชผักสีเหลือง เช่นฟักทอง แครอท มะละกอสุก มะม่วงสุก

4.5. Marasmus

4.5.1. ขาดโปรตีนและพลังงาน

4.5.2. ต้องได้รับพลังงานวันละ 120-150 kcal/kg/day

4.5.3. อาการ

4.5.3.1. กล้ามเนื้อลีบแบน ไขมันใต้ผิวหนังน้อยกว่าปกติ ไม่ค่อยพบการบวม

4.6. Kwashiorkor

4.6.1. ขาดโปรตีน

4.6.2. อาการ

4.6.2.1. บวม กดบุ๋ม จะบวมมากที่ขาและเท้าเป็นส่วนใหญ่ผิวหนังมันวาว บางแห้งแห้งหยาบ เหมือนหนังคางคก(hyperkeratosis) สีกระดำกระด่างhyperpigmentration ติดเชื้อได้ง่าย