การวิเคราะห์แอนไอออนบางชนิด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การวิเคราะห์แอนไอออนบางชนิด by Mind Map: การวิเคราะห์แอนไอออนบางชนิด

1. วัตถุประสงค์

1.1. 1. เพื่อศึกษาปฏิกิริยาของแอนไอออนสามัญบางชนิด

1.2. 2. เพื่อศึกษาวิธีวิเคราะห์แบ่งหมู่แอนไอออนด้วยสมบัติเฉพาะ

2. อุปกรณ์การทดลอง

2.1. 1. หลอดทดลอง

2.2. 2. แท่งแก้วกวน

2.3. 3. น้ำกลั่น

2.4. 4. อ่างน้ำเดือด

2.5. 5. เครื่องเซนตริฟิวก์

2.6. 6. กระดาษอินดิเคเตอร์

2.7. 7. กระดาษลิตมัส

3. สารเคมีที่ใช้

3.1. 1. โซเดียมซัลเฟต

3.2. 2. ไดโซเดียมไฮโดรเจนฟอสเฟต

3.3. 3. โซเดียมคลอไรด์

3.4. 4. โซเดียมโบรไมด์

3.5. 5. โซเดียมไอโอไดด์

3.6. 6. โซเดียมไนเทรต

3.7. 7. โพแทสเซียมเพอร์แมงกาเนต

3.8. 8. แบเรียมคลอไรด์

3.9. 9. ไอร์ออน(II)ซัลเฟต

3.10. 10. ซิลเวอร์ซัลเฟต(ของแข็ง)

3.11. 11. ซิลเวอร์ซัลเฟต

3.12. 12. ซิลเวอร์ไนเทรต

3.13. 13. แอมโมเนียมโมลิบเดต

3.14. 14. โซเดียมเททราบอเรต

3.15. 15. คาร์บอนเททราคลอไรด์

3.16. 16. เมทิลแอลกอฮอล์

3.17. 17. กรอไฮโดรคลอริก (6M HCl)

3.18. 18. กรอไฮโดรคลอริก (conc. HCL)

3.19. 19. กรดซัลฟูริก (3M H2SO4 )

3.20. 20. กรดซัลฟูริก (conc. H2 SO4 )

3.21. 21. กรดไนตริก (6M HNO3 )

3.22. 22. กรดไนตริก (conc. HNO3 )

3.23. 23. แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์

4. แอนไอออน

4.1. หมายถึง ไอออนที่มีประจุไฟฟ้าลบ มีทั้งที่เป็นอะตอมเดียว เช่น แฮไลด์ ไอออน หรือกลุ่มอะตอม

4.2. แบ่งได้ 3หมู่

4.2.1. 1. หมู่ซัลเฟต

4.2.1.1. แอนไอออนหมู่นี้ จะตกตะกอนโดยBaCL2 ในสารละลายที่มีฤทธิ์เป็นเบสเล็กน้อยด้วย NH4OH ตะกอนที่ได้ทุกตัวมีสีขาว

4.2.2. 2. หมู่แฮไลด์

4.2.2.1. แอนไอออนหมู่นี้ จะตกตะกอนโดยAgNO3 ในสารละลายของกรอไนตริกเจือจาง ได้แก่CI- , Br- , I-

4.2.3. 3. หมู่ไนเทรต

4.2.3.1. แอนไอออนหมู่นี้คือ แอนไอออนที่ไม่ตกตะกอนกับ BaCL2 หรือ AgNO3 ได้แก่ NO3

5. วิธีทดลอง

5.1. 1. การทดสอบหมู่ซัลเฟต

5.1.1. นำสารตัวอย่าง 5 หยด ใส่หลอดทดลอง

5.1.2. เติม6M HNO3 ทีละหยด+คน

5.1.3. เติมแบเรียมคลอไรด์ 5หยด

5.1.4. ถ้าเกิดตะกอน แสดงว่ามีแอนไอออนในหมู่ซัลเฟต

5.2. 2.การทดสอบหมู่แฮไลด์

5.2.1. นำสารตัวอย่าง 5 หยด ใส่หลอดทดลอง

5.2.2. เติม6M HNO3 5 หยด

5.2.3. เติมซิลเวอร์ไนเทรต 2 หยด

5.2.4. เกิดตะกอน แสดงว่ามีแอนไอออนในหมู่ซัลเฟต

5.3. 3. การทดสอบหมู่ไนเตรด

5.3.1. นำสารตัวอย่าง 5 หยด ใส่หลอดทดลอง

5.3.2. เติม3M H2 SO4 2 หยด

5.3.3. เติม ไอร์ออน(II)ซัลเฟต 5หยด

5.3.4. เขย่าให้สารผสมกัน

5.3.5. เอียงหลอดทำมุม30 กับพื้นโต๊ะ

5.3.6. หยด conc. H2 SO4 ช้าๆ ประมาณ6-8หยด

5.3.7. เกิดวงแหวนสีน้ำตาลของ[Fe(NO)] ระหว่างรอยต่อของของเหลวทั้ง2 แสดงว่ามีแอนนไอออนในหมู่ไนเตรด

5.4. 4.การทดสอบพาะสำหรับแอนไอออนแต่ละไอออน

5.4.1. 4.1ซัลเฟตไอออน

5.4.1.1. สารตัวอย่าง 5 หยด ใส่หลอดทดลอง

5.4.1.2. เติม 6M HCl 2หยด

5.4.1.3. เติม แบเรียมคลอไรด์ 2-3 หยด

5.4.1.4. เกิดตะกอนขาว แสดงว่ามี ซัลเฟตไอออน

5.4.2. 4.2ฟอสเฟตไอออน

5.4.2.1. สารตัวอย่าง 5 หยด ใส่หลอดทดลอง

5.4.2.2. เติม conc. HNO3 3 หยด

5.4.2.3. เติมแอมโมเนียมโมลิบเดต5 หยด

5.4.2.4. ต้ม 2-3 นาที

5.4.2.5. เกิดตะกอนเหลือง แสดงว่ามีฟอสเฟตไอออน

5.4.3. 4.3 บอเรตไอออน

5.4.3.1. สารตัวอย่าง 20 หยด ใส่ในชามระเหย

5.4.3.2. เอาไประเหยจนแห้ง

5.4.3.3. ทิ้งให้เย็น

5.4.3.4. เติม conc. H2 SO4 3-4 หยด+คน

5.4.3.5. เติมเมทิลแอลกอฮอล์ 2-3cm3 +คน

5.4.3.6. จุดไฟในชามระเหย

5.4.3.7. เกิดเปลวไฟสีเขียว แสดงว่ามีบอเรตไอออน

5.4.4. 4.4 โบรไมด์และไอโอไดด์ไออน

5.4.4.1. สารตัวอย่าง 5 หยด ใส่หลอดทดลอง

5.4.4.2. เติม conc. HCL 8 หยด

5.4.4.3. คาร์บอนเททราคลอไรด์10หยด

5.4.4.4. ค่อยๆ หยดโพแทสเซียมเพอร์แมงกาเนตทีละหยด+เขย่าแรงๆ

5.4.4.5. เกิดสีม่วงในชั้นของคาร์บอนเททราคลอไรด์ แสดงว่ามี ไอโอไดด์ไอออน

5.4.4.6. เกิดสีเหลืองจำปาในชั้นของคาร์บอนเททราคลอไรด์ แสดงว่ามีโบรไมด์ไอออน