ปัญหาทางการพยาบาล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปัญหาทางการพยาบาล by Mind Map: ปัญหาทางการพยาบาล

1. ภาวะพร่องออกซิเจนจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง

1.1. ข้อมูลสนับสนุน

1.1.1. S-หายใจเหนื่อย พ่นยา ventolin 1 puff2ครั้งอาการไม่ดีขึ้น

1.1.2. O-ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงวี้ดทั้ง 2 ข้าง R = 30/min P = 144/min BP = 139/92 mmHg O2sat = 92%

1.2. วัตถุประสงค์

1.2.1. ไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจนและสามารถได้รับออกซิเจนที่เพียงพอ

1.3. เกณฑ์การประเมินผล

1.3.1. ผู้ป่วยไม่มีอาการเหนื่อยหอบ

1.3.2. R = 16-24/min P = 60-100/min BP = 120/60 mmHg O2sat = 98-100%

1.3.3. ฟังเสียงการหายใจไม่พบเสียงวี้ด

1.4. กิจกรรมการพยาบาล

1.4.1. ประเมินV/Sทุก 4 ชม. และ O2sat เพื่อประเมินการทำงานของร่างกาย

1.4.2. ดูแลการได้รับออกซิเจน cannula 3ลิตร/นาทีให้เพียงพอ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะขาดออกซิเจน

1.4.3. จัดท่านอนตะแคงศีรษะสูงเพื่อได้มีการหายใจได้สดวก

1.4.4. ดูแลการกายใจของผู้ป่วย

1.4.5. สอยการหายใจที่ถูกต้องเพื่อป้องกันไม่ให้มีอาการเหนื่อยเพิ่มขึ้้

1.4.6. จำกัดกิจกรรมที่ทำ เพื่อป้องกันการเหนื่อยหอบ

1.4.7. ดูแลให้ได้รับยาVemtolin 2 mlผสม0.9%NSS 3 ml , Beradual 2ml ผสม0.9%NSS 2ml. Dexamethasone 10 mgทางหลอดเลือดดำ

1.5. ประเมินผล

1.5.1. บรรลุจุดมุ่งหมาย R = 20/min P = 100/min BP = 120/60 mmHg O2sat = 97% ปู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น อาการเหนื่อยลดลง สามารถทำกิจวัติประจำวันได้ตามปกติ ฟังเสียงปอดไม่พบเสียงวี้ด

2. ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ

2.1. ข้อมูลสนับสนุน

2.1.1. มีเสมหะ

2.1.2. มีไข้ 37.7 องศสเซลเซียส

2.2. วัตถุประสงค์

2.2.1. ไม่เกิดการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ

2.3. เกณฑ์การประเมิน

2.3.1. อุณหภูมิ 36.5-37.5 องศาเซลเซียส

2.3.2. ไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ เช่น มีเสมหะ

2.4. กิจกรรมการพยาบาล

2.4.1. วัด V/S ทุก 4 ชม. เพื่อประเมินการติดเชื้อ

2.4.2. ดูแลความสะอาดของร่างกายและทางเดินหายใจเพื่อป้องกันการติดเชื้อ

2.4.3. ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา

2.5. บรรลุจุดมุ่งหมาย T = 37c ไม่มีเสมหะ และได้รับยาตามแผนการรักษา

3. เสี่ยงต่อภาวะอุดกลั้นทางเดินหายใจจากหอบหืด

3.1. ข้อมูลสนับสนุน

3.1.1. S-ผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคหอบหืด ไอคล้ายมีเสมหะอยู่ในลำคอ ขับเสมหะไม่ออก หายใจเร็ว หอบลึก

3.1.2. O-ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงวี้ดทั้ง 2 ข้าง R = 30/min P = 144/min BP = 139/92 mmHg O2sat = 92%

3.2. วัตถุประสงค์

3.2.1. ไม่เกิดภาวะอุดกลั้นทางเดินหายใจจากหอบหืด

3.3. เกณฑ์การประเมิน

3.3.1. ไม่มีเสมหะติดอยู่มี่คอ สามารถขับเสมหะออกได้

3.3.2. ไม่มีอาการเหนื่อยหอบ

3.3.3. สามารถทำกิจวัติประจำวันเองได้โดยไม่ต้องมีคนช่วย

3.3.4. O-ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงวี้ดทั้ง 2 ข้าง R = 16-24/min P = 60-100/min BP = 120-60 mmHg O2sat = 98-100%

3.4. กิจกรรมการพยาบาล

3.4.1. ประเมินอาการของผู้ป่วย

3.4.2. ติดตามV/Sทุก 4 ชม.เพื่อดูการเปลีายนแปลงของผู้ป่วย

3.4.3. จัดท่านอนศีษะสูงเพื่อให้สามารถหายใจได้สะดวก

3.4.4. งดทำกิจกรรมที่ทำให้เกิดอาการเหนื่อยหอบ เช่น การเดินเร็ว

3.4.5. แนะนำการหายใจอย่างถูกวิธีเพื่อลดอาการเหนื่อยหอ

3.4.6. ติประเมินเสมหะ ถ้ามีเสมหะให้ทำการเอาเสมหะออก เพื่อป้องกันการอุดกลั้นทางเดินหายใจ

3.5. ประเมินผล

3.5.1. บรรลุจุดมุ่งหมายบรรลุจุดมุ่งหมาย R = 20/min P = 100/min BP = 120/60 mmHg O2sat = 97% อาการเหนื่อยลดลง ไม่มีเสมหะติดอยู่ที่คอ สามารถทำกิจวัติประจำวันได้ด้วยตนเอง

4. วิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย

4.1. ข้อมูลสนับสนุน

4.1.1. ผู้ป่วยบอกว่ารู้สึกอึดอัดกลัวการหายใจที่แคบๆผ่านหน้ากาก

4.2. วัตถุประสงค์

4.2.1. ไม่เกิดความวิตกกังวลกับการเจ็บป่วย

4.3. เกณฑ์การประเมิน

4.3.1. ผู้ป่วยมีสีหน้าที่ดีขึ้น

4.3.2. ไม่แสดงอาการวิตกกังวล

4.4. กิจกรรมการพยาบาล

4.4.1. ประเมินความรู้สึงวิตกกังวลและสังเกตุสีหน้า

4.4.2. พูดคุยสร้างสัมพันธภาพเพื่อสร้างความคุนชิน

4.4.3. ให้คำแนะนำก่อนได้รับการรักษาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้อง

4.4.4. จัดท่านอนเพื่อความสุขสบายของผู้ป่วย

4.4.5. พูดให้กำลังใจผู้ป่วยเพื่อลดความกังวล

4.5. ประเมินผล

4.5.1. ผู้ป่วยมีความกังวลลดลงให้ความร่วมมือดี

5. พร่องความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวให้เหมาะสมกับโรคหอบหืด

5.1. ข้อมูลสนับสนุน

5.1.1. ผู้ป่วยได้รับการกลับไปดูแลรักษาต่อที่บ้าน

5.2. วัตถุประสงค์

5.2.1. มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวให้เหมาะสมกับโรคหอบหืด

5.3. เกณฑ์การประเมิน

5.3.1. ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัว

5.4. กิจกรรมการพยาบาล

5.4.1. แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอบู่บ้าน

5.4.1.1. หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้จากการทำงานเช่น ฝุ่นจากพลาสติก

5.4.1.2. ใช้ผ้าปิดปากปิดจมูกขณะทำงานหรืออยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัจจัยทำให้เกิดอาการหอบหืด

5.4.1.3. หลีกเลี่ยนการอยู่ในที่ที่มีอากาศเย็น-ร้อนจัด

5.4.2. มาตรวจตามแพทย์นัด 2 สัปดาห์หลังกลับจากโรงพยาบาล

5.5. ประเมินผล

5.5.1. ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการรับฟังและการปฏิบัติเป็นอย่างดี