Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ผลกระทบCovid-19 by Mind Map: ผลกระทบCovid-19

1. การบริหารจัดการ

1.1. บุคคล

1.1.1. มาตรการการรักษาสุขลักษณะส่วนบุคคล เช่น การล้างมือบ่อยๆ, กินร้อนช้อนกู, สวมหน้ากากอนามัย

1.1.2. การจัดสรรกำลังคนช่วยเหลือคัดกรอง ทำงานพื้นที่เชิงรุก

1.2. การเงิน

1.2.1. การลงทะเบียนเงินช่วยเหลือเยียวยาผู้รับผลกระทบ

1.2.2. มาตรการพักชำระหนี้3 เดือน 6 เดือน

1.2.3. มาตราการช่วยเหลือค่าไฟฟ้า15 หน่วย

1.3. สังคม การดำเนินชีวิต

1.3.1. มีมาตราการเคอฟิว 22.00น.-4.00น. ลดการแพร่กระจายเชื้อ

1.3.2. Social distances ในสังคม

1.3.3. การใช้ชีวิตเก็บกักตัวเองอยู่บ้าน

1.3.4. มาตรการปิดจังหวัด lock down การเดินทางเข้า-ออกจังหวัด

2. ทรัพยากรด้านสุขภาพ

2.1. บุคคลากร

2.1.1. การเจ็บป่วยและการเสียชีวิตจากการปฏิบัติงาน

2.1.1.1. ความเสี่ยงเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตในการทำงาน

2.1.1.2. ความเครียด: ทนต่อแรงกดดันในการทำงาน และความกดดันทางด้านสังคม

2.1.1.3. ขาดการพักผ่อนร่างกาย ทำงานติดต่อเป็นเวลานาน

2.1.1.4. ถูกรังเกียจทางสังคม ในการทำงานใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อ

2.1.2. แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ ติดเชื้อโควิด-19 จากการปฏิบัติหน้าที่

2.1.2.1. สูญเสียกำลังคนในการทำงาน

2.1.2.2. สภาพจิตใจถดถอย จากการเจ็บป่วย ห่างไกลครอบครัว

2.1.2.3. สุขภาพร่างกายเจ็บป่วยด้วยโรค

2.1.2.4. ขาดรายได้ เนื่องจากไม่ได้ปฏิบัติงาน

2.2. ขาดแคลนงบประมาณสนับสนุนการทำงานด้านสาธารณสุข

2.2.1. ความเสี่ยงสูงแต่ค่าตอบแทนเท่าเดิม หรือลดลง

2.2.2. ค่าตอบแทน โอทีOTลดลง

2.3. ขาดแคลนเวชภัณฑ์ยาและคุรุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่ใช้ในการป้องกัน รักษา โรคโควิด19

3. การเงินการคลัง

3.1. ทุ่มเงินงบประมาณชาติ การจัดการปัญหาสถานการณ์โรคโควิด-19

3.2. รัฐบาลกู้เงิน จัดการแก้ไขปัญหา เพื่อช่วยเหลือประชาชนประสบภัยสถานการณ์โควิด-19

3.3. ลงทะเบียนแจกเงิน5000 บาท ผู้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19

3.4. มีระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า (สิทธิ30บาท) รองรับในการรักษาผู้ป่วยโควิด19 ฟรี แต่การตรวจคัดกรองโควิด-19 ทางห้องปฏิบัติการต้องเสียเงินเอง

3.5. ขาดทุนทางเศรษฐกิจ เกิดการชะลอตัวการลงทุน ทางเศรษฐกิจ

4. โครงสร้างองค์กร

4.1. ผู้ประกอบการ

4.1.1. ขาดงาน :เมื่อสถานประกอบการปิด ทำให้เกิดการเลิก งด ปิดการจ้างงาน หรือขาดงานเพื่อมาดูแลสมาชิกในครอบครัวที่เจ็บป่วย

4.1.2. ขาดรายได้: สถานประกอบการปิด ไม่เกิดการจ้างงาน ส่งผลให้คนตกงาน ขาดรายได้เลี้ยงดูครอบครัว

4.1.3. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบธุรกิจ : ลดการสัมผัสในคนหมู่มาก มีแนวโน้มธุรกิจด้านออนไลน์เพิ่มขึ้น หรือบริการเดลิเวอรี่มากขึ้น การงดนั่งร้าน เป็นต้น

4.1.4. ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น :กรณีกิจการยังคงดำเนิน จำเป็นต้องเพิ่มมาตรการในการป้องกันการติดเชื้อ ส่งผลให้มีการลงทุน ต้นทุนเพิ่ม

4.2. สถานศึกษา

4.2.1. ปิดสถานศึกษา

4.2.2. ปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนระบบออนไลน์

4.2.3. เลื่อนการจบการศึกษาในบางสถานศึกษาเนื่องจากการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนใหม่ เช่นการเลื่อนการขึ้นฝึกวอร์ดของนักศึกษาพยาบาล

4.2.4. ปรับเปลี่ยนวิธีการรับเข้าศึกษาต่อ เช่น เลื่อนการเปิดรับสมัคร,สัมภาษณ์ออนไลน์

4.2.5. ครู นักเรียน นักศึกษา ต้องปรับตัวกับระบบการศึกษาใหม่ผ่านการเรียนออนไลน์

4.2.6. พิธีจบการศึกษาออนไลน์ ไม่มีรูปวันจบครอบครัว เพื่อนๆ ไม่มีสแตนด์เชิดที่เป็นอัตลักษณ์ของวพบ.อต.

4.3. ขนส่ง คมนาคม

4.3.1. การขนส่งสินค้าข้ามจังหวัดอาจล่าช้าหรือถูกยกเลิกจากมาตรการป้องกันโควิด-19 เช่น มาตรฐานเคอฟิล์ว มาตราการปิดจังหวัด เป็นต้น

4.3.2. การเดินทาง คมนาคมระหว่างจังหวัด ติดขัดจากสถานการณ์lock down จังหวัด

4.3.3. ปิดกิจการ หรือลดการให้บริการสถานบริการขนส่งสาธารณะ

4.3.4. บริการขนส่งสินค้าเดลิเวอรี่เพิ่มมากขึ้น เช่น gab foodpanda cerry ไปรษณีย์ไทย เป็นต้น

4.3.5. New Topic

4.3.6. การปิดกั้นตั้งด่านกักกันสนามบินระหว่างประเทศ ภายในประเทศ ด่านกักกันระหว่างประเทศ

5. การบริการสุขภาพ

5.1. การดูแล คัดกรอง รักษา เยียวยาจิตใจ ผสมผสานสหวิชาชีพร่วมกันทำงานทั้งเชิงรับและเชิงรุก

5.2. การให้บริการคัดกรอง รักษาโรคโควิด-19 กำลังหลักใหญ่ ยังอยู่กระจุกที่เมืองใหญ่ ยังการความครอบคลุมในการตรวจคัดกรองรักษา

5.3. สถานบริการของรัฐในที่ห่างไกล หรือโรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก ขาดแพทย์หรือผู้ที่มีเฉพาะทาง อุปกรณ์ การตรวจคัดกรอง รักษาโรคโควิด-19

5.4. ส่วนกลางมีการวางแผนแนวการรักษา ส่งต่อ เกณฑ์การป้องกัน คัดกรอง การทำงานวางให้ปฏิบัติตามชัดเจน

5.5. เพิ่มหน่วยคัดกรองเคลื่อนที่ ร่วมมือกับวิทยาศาสตร์การแพทย์ออกตรวจคัดกรองทางห้องปฏิบัติการฟรี ในเขตพื้นที่กทม.และปริมณฑล