Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Beer by Mind Map: Beer

1. Type of Beer

1.1. Ales -เบียร์หมักยีสต์ลอยหน้า คือที่เกิดจากการหมักขึ้นที่ด้านบนสุดของถังหมัก -ถูกหมักที่อุณหภูมิสูงกว่าลาเกอร์เบียร์ ประมาณ 10-15องศา -ใช้เวลาหมักน้อยกว่าลาเกอร์เบียร์ ประมาณ 2-3สัปดาห์ -เบียร์มีสีเข้ม รสชาติเข้มข้น

1.2. Lager beer -เบียร์หมักยีสต์นอนก้น คือ เกิดจากการหมักขึ้นที่ก้นของถังหมัก -ลาเกอร์เบียร์หมักที่อุณหภูมิไม่เกิน 5องศา -ลาเกอร์ถูกหมักที่อุณหภูมิเย็นกว่า ส่งผลให้ได้เบียร์ที่ใส สด และเรียบเนียนกว่าเบียร์เอลล์ -ใช้เวลาหมักมากกว่าเอลล์ ประมาณ 4สัปดาห์ -เบียร์ที่ผลิตจากผู้ผลิตยักษ์ใหญ่เกือบทั้งหมดจะเป็นแบบ Lagers Lagers Lagers Lagers Lagers Lagers ซึ่งเหมาะกับอากาศการดื่มในเมืองร้อนๆอย่างประเทศไทยมากกว่า

2. Raw material

2.1. Water เบียร์มีส่วนประกอบที่เป็นน้ำมำกกว่ำ90เปอร์เซ็นต์ น้ำที่ใช้ส้ำหรับกำรผลิตเบียร์ขึ นอยู่กับลักษณะของเบียร์ที่จะผลิตและพวกแร่ธำตุในน้ำจะมีผลต่อรสชำติของเบียร์

2.2. Hobs ใช้ส่วนดอกมำท้ำเบียร์ ใช้เพื่อรักษำสมดุลและเพิ่มรสชำติของเบียร์ โดยฮ็อปจะมีรสขม ที่ช่วยตัดรสหวำนของมอลต์ และให้กลิ่นหอมนอกจำกนั นยังช่วยยืดอำยุเบียร์

2.3. Malt เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกน้ำเมล็ดธัญพืช ซึ่งเมล็ดพืชจะสร้ำงเอนไซม์ มอลต์นิยมผลิตจำกข้ำวบำร์เลย์ ข้ำวสำลี ข้ำวไรย์ หรือข้ำวโอ๊ตเป็นต้น

2.4. Yeast ท้ำหน้ำที่เปลี่ยนน้ำตำลในมอลต์ ให้กลำยเป็นแอลกอฮอล์และก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ ที่ท้ำให้เกิดฟอง และยังท้ำให้เกิดกลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ด้วย

3. Beer Production

3.1. Malting(การเตรียมข้าวมอลต์) ขั้นตอนแรกในกระบวนการผลิตเบียร์เริ่มต้นด้วยการแปลงธัญพืชดิบเป็นมอลต์ จุดประสงค์ของการ Malti Malting คือการแยกเอนไซม์เพื่อการผลิตเบียร์ ธัญพืชเช่นข้าวบาร์เลย์ต้องผ่านกระบวนการทาให้ข้าวงอก เช่นผ่านการอบให้ความร้อนตากแห้งและบดให้เมล็ดแตก

3.2. Mashing กระบวนการถัดไปคือ Mashing การนามอลต์บดหยาบต้มในน้า คล้ายกับการแช่ชาในน้า ธัญพืชจะถูกแช่ในน้าร้อนแต่ไม่ถึงกับเดือด กระบวนการนี้จะกระตุ้นให้เอนไซม์ธรรมชาติสลายแป้งให้กลายเป็นน้าตาล

3.3. lautering เอาน้าที่ตอนนี้เต็มไปด้วยน้าตาลจากการ mash มากรอง สิ่งที่ได้คือน้าลักษณะเหลวเหนียวข้นหวานที่เรียกว่า wort

3.4. Wort Boiling นา Wort มาต้มในกาต้มน้าขนาดใหญ่ เติมฮ็อปและสารแต่งกลิ่นอื่น ๆ ในระหว่างการต้ม Wort เพื่อสร้างรสชาติและกลิ่น

3.5. Fermentation หลังจากที่ Wort ถูกทาให้เย็นลง Wort จะถูกย้าย ไปใส่ในถังหมักและใส่ยีสต์ตามชนิดที่ต้องการ ยีสต์จะช่วยแปลงน้าตาลใน Wort ให้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และแอลกอฮอล์

3.6. Conditioning & Bottling จะบ่งบอกถึงอายุของเบียร์ โดยย้ายเบียร์จากถังหมักแรกและนามาหมักต่อในอีกถังหนึ่ง เพื่อเก็บบ่มเบียร์ให้สุกเพื่อให้มีรสชาติและเกิดการคาร์บอเนตหลังจากการบ่มแล้ว เมื่อเบียร์ที่หมักมีอายุพอเหมาะ เบียร์จะถูกนามากรองและนาไปบรรจุในขวดบาร์เรลหรือกระป๋อง

4. Best Famous Production Site

4.1. Belgium

4.2. Denmark

4.3. Lreland

5. How to serve beer?

5.1. ภาชนะที่ใช้ใส่เบียร์ สามารถดื่มเบียร์จากภาชนะที่บรรจุได้หลายแบบ กระป๋อง, ขวดแก้ว, เหยือกเมสัน แต่การรินเบียร์ลงในแก้ว ถือเป็นวิธีที่เหมาะสมในการเสิร์ฟเบียร์เพราะแก้วจะช่วยเพิ่มรสชาติของเบียร์

5.2. เครื่องแก้วที่เหมาะสม เบียร์จะใช้แก้วแบบเฉพาะ เพราะว่าแก้วจะช่วยเพิ่มกลิ่นหอม และกลิ่นหอมจะทาให้รสชาติของเบียร์ดีขึ้น

5.3. วิธีการรินเบียร์ ต้องใช้แก้วเบียร์ที่สะอาดจากนั้นถือแก้วที่ทามุม45 องศาและเทลงไปตรงกลางแก้วขณะที่เบียร์ในแก้วมาถึงระดับที่เทให้เอียงแก้วทามุม90 องศา

5.4. การเสิร์ฟในอุณหภูมิที่ถูกต้อง อุณหภูมิ 1-4 องศาลาเกอร์จากถังเบียร์ขนาดใหญ่อุณหภูมิ 4-8 องศาลาเกอร์ส่วนมากที่มาจากโรงเบียร์เล็ก อุณหภูมิ 8-10 องศาอเมริกันเอล อุณหภูมิเซลลาร์ 10-13 องศาเบียร์เอลที่แรง อุณหภูมิอุ่น 13-17 องศาเบียร์เบลเยี่ยมที่แรงๆ

6. Beer Tasting

6.1. Sight ดู ดูว่ามีรอยร้าวในแก้วหรือรอยบุบบนกระป๋องหรือไม่ และอย่าลืมดูวันหมดอายุสังเกตสีของเบียร์และภาพรวม สีจะช่วยบ่งบอกถึงชนิดของมอลต์ ที่ถูกนามาใช้และรสชาติที่ ควรคาดหวัง

6.2. Swirl หมุน หมุนข้อมือของคุณเป็นวงกลมจะทาให้เบียร์เคลื่อนอยู่ในแก้วการหมุนแก้วเพื่อทาให้กลิ่นกระจายได้เพิ่มขึ้น และกระตุ้นการเกิดคาร์บอไนเซชั่นหรือทาให้ฟองลดลง

6.3. Sniff ดม ยื่นจมูกเข้าไปในแก้วและสูดแรงๆ ให้สูดลมหายใจเข้าทางจมูกเท่านั้น แล้วหายใจออกทั้งทางจมูกและปาก เมื่อทาแบบนี้ คุณจะรู้ได้ว่าเบียร์มีกลิ่นและรสชาติอย่างไร

6.4. Sip จิบ ลองจิบดูสักคาแล้วค่อยๆกลั้วไปมาในปาก พยายามให้ทุกจุดบนลิ้นได้รับรสแล้วสังเกตว่าเบียร์มีรสชาติเป็นอย่างไร จิบอีกครั้งและเน้นดูที่ความสม่าเสมอของเบียร์ และความรู้สึกเมื่ออยู่ในปาก จะรู้สึกได้ว่าสามารถรับรสของเบียร์ได้ดีขึ้น

6.5. Swallow กลืน สังเกตว่ารสชาติยังคงอยู่นานแค่ไหน ถ้ามันยังอยู่ แสดงว่าเบียร์เป็นแบบมีรสชาติตอนปลายที่อยู่ได้นานถ้ามันหายไปอย่างรวดเร็ว แสดงว่าเบียร์นี้เป็นแบบมีรสชาติตอนปลายที่อยู่ได้สั้นหรือไม่มี

7. Beer Taste Type

7.1. PILSNER: มีต้นกาเนิดจากสาธารณรัฐเชคเป็นเบียร์ดื่มง่ายบอดี้บางรสชาติคลีนคมหวานและหอมจางๆจากกลิ่นของมอลต์และฮ็อปส์

7.2. WITBIER: เบียร์สีอ่อนหมักจากข้าวสาลีดื่มง่ายไม่ขมมีรสซ่ามีกลิ่นมอลต์เปลือกส้มและเมล็ดผักชี

7.3. HEFEWEIZEN: สไตล์ยอดนิยมของเบียร์เยอรมันดื่มง่ายถูกปากคนไทยมักมีกลิ่นผลไม้ที่เกิดจากฮ็อปส์

7.4. PALE ALE: เบียร์สีทองรสชาติอ่อนดื่มง่ายบอดี้บางมีกลิ่นซิตรัสจางๆจากฮ็อปส์และยังมีรสชาติฮ็อปส์เต็มๆอีกด้วย

7.5. IPA: เบียร์สีส้มทองแดงบอดี้เข้มข้นฟองเบียร์สวยมีแอลกอฮอล์สูงมีรสชาติที่โดดเด่นจากฮ็อปส์และยีสต์ประกอบกับกลิ่นผลไม้จางๆ

7.6. DOUBLE IPA เรียกอีกอย่างว่า LMPERIAL IPA: เบียร์ที่ต่อยอดจาก IPA ปกติใส่ฮ็อปส์มากขึ้นมักมีปริมาณแอลกอฮอร์ที่สูงสามารถตอบสนองความต้องการของนักดื่มระดับฮาร์ดคอร์ได้ดี

7.7. STOUT: เป็น ALE ชนิดสีดาหรือน้าตาลเข้มรสชาตินุ่มนวลลึกบอดี้เข้มข้นกลิ่นจะหอมออกคล้ายโกโก้กาแฟหรือวานิลลา

7.8. LAGER: เบียร์ที่ใช้ยีสต์และมอลต์ผสมออกมาเป็นสีบลอนด์ทองสีใสสดชื่นรสชาติคลีนดื่มง่าย