สัตว์ป่าและการอนุรักษ์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สัตว์ป่าและการอนุรักษ์ by Mind Map: สัตว์ป่าและการอนุรักษ์

1. สัตว์ป่า

1.1. ในป่า + ที่อยู่รอบต้ว เช่น แมลง นก

2. สัตว์สวนสัตว์

2.1. สัตว์ป่าที่อยู่ในสภาพการเพาะเลี้ยง

2.2. สวนสัตว์

2.2.1. เป็นที่จัดแสดง

2.2.2. อนุรักษ์และวิจัย เพื่อศึกษาชีวิต

3. ประโยชน์สัตว์ป่า

3.1. ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ commercial values

3.1.1. ใช้ในการสร้างมูลค่า เช่น ท่องเที่ยว การค้าของป่าแบบถูกกฎหมาย

3.2. ประโยชน์การพักผ่อนและกีฬา recreational value and game

3.2.1. กีฬา เช่น วัวชน

3.3. ความเพลิดเพลิน aesthetic and ethical value

3.3.1. ชมสวนสัตว์ / ฟาร์มสัตว์ป่า

3.4. ศึกษาและทดลองทางวิทยศาสตร์ scientific value

3.4.1. ทดลองยารักษาโรค สารเคมีในสัตว์ ก่อนใช้กับคน

3.4.1.1. ลิง

3.5. การเมืองระหว่างประเทศ political value

3.5.1. ใช้เป็นเครื่องหมายแสดงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

3.5.1.1. แพนด้า

3.5.1.2. ช้าง

4. ผลกระทบจากสัตว์ป่า

4.1. ทำลายพืชผลการเกษตร

4.1.1. ช้าง กระทิง

4.2. ทำลายสัตว์ปีกและปศุสัตว์

4.3. พาหะของโรค

4.3.1. อีโบล่า โควิท

4.4. ทำลายทรัพย์สิน

4.4.1. ลิง ลพบุรี

4.5. ส่งกลิ่นเหม็น

4.6. อุบัติเหตุ

4.6.1. ช้างป่า

4.7. ความเชื่อด้านลบ

4.7.1. นกแสก

5. การแบ่งประเภทสัตว์ป่า

5.1. อนุกรมวิธาน Taxonomy

5.1.1. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม Mammal

5.1.2. สัตว์ปีก Avian

5.1.3. สัตว์เลื้อยคลาน Reptile

5.1.4. สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก Amphibian

5.1.5. สัตว์น้ำ Aquatic animal

5.1.6. แมลง / แมง Arthopods

5.2. สถานะการอนุรักษ์

5.2.1. IUCN

5.2.1.1. Extinct (EX)

5.2.1.1.1. สูญพันธุ์ แบบมีหลักฐานว่าตัวสุดท้ายตาย

5.2.1.2. Extinct in The Wile (EW)

5.2.1.2.1. สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติ

5.2.1.3. Critically Endangered (CR)

5.2.1.3.1. มีความเสี่ยงสูงมากที่จะสูญพันธุ์ ไปจากธรรมชาติในขณะนี้

5.2.1.4. Endangered (EN)

5.2.1.4.1. มีความเสี่ยงสูงที่จะสูญพันธุ์ ไปจากธรรมชาติ

5.2.1.5. Vulnerable (VU)

5.2.1.5.1. มีความเสี่ยงสูงที่จะสูญพันธุ์ ไปจากธรรมชาติในอนาคต

5.2.1.6. Near Threatened (NT)

5.2.1.6.1. ใกล้ถูกคุกคาม ใกล้จะเข้า VU ใกล้จะ Threatened มากๆ

5.2.1.7. Least Concern (LC)

5.2.1.7.1. ไม่ถูกคุกคาม ผ่านการประเมินแล้ว

5.2.1.8. Data Deficient (DD)

5.2.1.8.1. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะประเมิน

5.2.1.9. Not Evaluated (NE)

5.2.1.9.1. ยังไม่พิจารณาประเมินสภาพ

5.2.2. สัตว์ป่าสงวน 19 ชนิด

5.2.2.1. 15 ชนิด ตาม พรบ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า 2535 เปลี่ยนเป็น 2562

5.2.2.2. พรบ. 2562 เพิ่มอีก 4 ชนิด

5.2.2.2.1. วาฬบลูด้า

5.2.2.2.2. วาฬโอมูระ

5.2.2.2.3. ฉลามวาฬ

5.2.2.2.4. เต่ามะเฟือง

5.3. อนุสัญญาการค้าระหว่างประเทศของ สัตว์ป่าและพันธุ์พืชใกล้สูญพันธ์ CITES

5.3.1. CITES 1

5.3.1.1. สัตว์และพืชป่า ห้ามค้าโดยเด็ดขาด เพราะใกล้จะสูญพันธุ์ ยกเว้นเพื่อศึกษา วิจัย เพาะพันธุ์

5.3.2. CITES 2

5.3.2.1. สัตว์และพืชป่ายังไม่ถึงกับใกล้สูญพันธุ์ ค้าได้ แต่ต้องมีการควบคุม

5.3.3. CITES 3

5.3.3.1. ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายของสักประเทศ ต้องมีหนังสือรับรองการส่งออกจากถิ่นกำเนิด เช่น ควาย (เนปาล) นกขุนทอง (ไทย) นกกระทาดง(มาเลเซีย)

6. การอนุรักษ์และการจัดการสัตว์ป่า

6.1. การอนุรักษ์

6.1.1. สงวน

6.1.1.1. ห้ามกิน ใช้ และล่า เพราะจะใกล้สูญพันธุ์

6.1.2. อนุรักษ์

6.1.2.1. ใช้ทรัพยากรให้เป็นประโยชน์แล้วก็นานๆ + ต้องกระจายการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างทั่วถึง

6.2. การจัดการสัตว์ป่า

6.2.1. ที่อยู่อาศัย

6.2.1.1. ถูกทำลาย เกิดหย่อมป่า สิ่งแวดล้อมมีมลพิษ

6.2.1.1.1. พัฒนาที่อยู่อาศัย เพิ่มพื้นที่แนวเชื่อมต่อระว่างถิ่นอาศัย - corridor - มีแหล่งน้ำดึงดูดสัตว์ให้ข้ามฝั่งมา ปรับปรุงพื้นที่หากิน สร้างโพรงรังเทียม - ให้นกเงือก สร้างโป่งเทียม - เสริมแร่ธาตุ วิตามิน จัดพื้้นที่ขยายพันธุ์ และพื้นที่วางไข่ จัดการแหล่งน้ำ

6.2.2. ประชากรสัตว์ป่า

6.2.2.1. จำนวนประชากรลด สัตว์ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น พันธุกรรม หรือ ภาวะเลือดชิด

6.2.2.1.1. เพิ่มจำนวนประชากร ป้องกันและควบคุมโรคระบาด ควบคุมไม่ให้สัตว์ป่าก่อผลกระทบกับคน ควบคุมประชากรให้เหมาะสม การเคลื่อนย้าย แลกเปลี่ยนสัตว์ป่า ใช้เทคโนโลยีชีวภาพด้านการสืบพันธุ์ - เก็บไว้ที่ธนาคารพันธุกรรม

6.3. การอนุรักษ์สัตว์ป่า

6.3.1. ในถิ่นอาศัย

6.3.1.1. การจัดการด้านที่อยู่อาศัย การป้องกันควบคุมโรค

6.3.1.2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

6.3.1.2.1. เขตพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติ

6.3.2. นอกที่อยู่อาศัย

6.3.2.1. การเพาะขยายพันธุ์ ใช้เทคโนโลยีด้านชีวภาพ

6.3.2.2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

6.3.2.2.1. สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า องค์การสัตว์ป่า