บทที่ ๓ พลังงานจากสารอาหารความต้องการพลังงานของร่างกาย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ ๓ พลังงานจากสารอาหารความต้องการพลังงานของร่างกาย by Mind Map: บทที่ ๓ พลังงานจากสารอาหารความต้องการพลังงานของร่างกาย

1. การคำนวณปริมาณและพลังงานจากสารอาหาร

1.1. วิธีคำนวณพลังงาน Harris Benedict Equation

1.1.1. ผู้ชาย : BEE = 66.5+(13.8W)+(5.0H)-(6.8A)

1.1.2. ผู้หญิง : BEE = 665.1+(9.6W)+(1.8H)-(4.7A)

1.1.3. TEE=BEE*AF*IF

1.2. ปริมาณอาหารที่ควรรับประทานสําหรับพลังงานระดับต่างๆ

1.2.1. เด็กอายุ 6 – 13 ปี หญิงวัยทํางานอายุ 25 – 60 ปี ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป =1600 กิโลแคลอรี่

1.2.2. ผู้ป่วยกลุ่มที่มี BMI < 18.5=1800 กิโลแคลอรี่

1.2.3. ผู้ป่วย DM HI ที่มี BMI ≥ 25 = 1200 – 1600 กิโลแคลอรี่

1.2.4. หญิงตั้งครรภ์เพิ่มจากคนปกติ 300 หญิงให้นมบุตรเพิ่มจากคนปกติ 500 GDM ดูจาก BMI < 18.5 น้ําหนักตัว x 30 kcal. BMI ≥ 23.0 น้ําหนักตัว x 20 kcal

1.2.5. กลุ่มผู้ป่วย อายุ > 60 ปี 30 kcal./น้ําหนักตัวที่ควรเป็น อายุ < 60 ปี 35 kcal./น้ําหนักตัวที่ควรเป็น

1.3. ขั้นตอนการคำนวณปริมาณและพลังงานจากสารอาหาร

1.3.1. ขั้นตอนที่1 การกระจายสัดส่วนพลังงานที่ควรได้รับ

1.3.2. ขั้นตอนที่2 คำนวณปริมาณสารอาหารที่ร่างกายต้องการต่อวัน

1.3.3. ขั้นตอนที่3 การกำหนดปริมาณอาหาร

1.3.4. ขั้นตอนที่4 การแบ่งส่วนอาหารที่คำนวณไว้ทั้งวันเป็นมื้อ

1.3.5. ขั้นตอนที่5 กำหนดรายการอาหาร (menu planning)

2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเผาผลาญอาหาร

2.1. อายุ

2.1.1. อายุที่มากขึ้นมีผลทําให้อัตราการเผาผลาญลดลง

2.2. เพศ

2.2.1. เพศชายมีอัตราการเผาผลาญมากกว่าเพศหญิงเนื่องจากกล้ามเนื้อ มากกว่าผู้หญิง

2.3. องค์ประกอบมวลกาย

2.3.1. คนที่อ้วนมีอัตราการเผาผลาญน้อยกว่าคนผอม

2.4. ฮอร์โมน

2.4.1. คนที่มีภาวะขาดฮอร์โมนบางตัว เช่น ไทรอยด์ ฮอร์โมน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ช่วยควบคุมอัตราการเผาผลาญพลังงาน ถ้าตํ่าก็จะทำให้มีอตัราการเผาผลาญตํ่า

2.5. ภาวะการอดอาหาร(Fasting or starvation)

2.5.1. ทําให้มีอัตราการ เผาผลาญตํ่าแล้วก็เพิ่มมวลกล้ามเนื้อโดยการออกกำลังกาย

2.6. อาหาร

2.6.1. รับประทานอาหารประเภทโปรตีนทำให้มีการเผาผลาญ มากกว่าการบริโภคไขมันและคาร์โบไฮเดรต

2.7. แอลกอฮอล์ กาแฟ

2.7.1. ช่วยเพิ่มอัตราการเผาผลาญได้แต่แค่2-3 ชม เท่านั้น

3. การประเมินภาวะโภชนาการ

3.1. ภาวะโภชนาการ คือลักษณะหรือสภาพของร่างกายเนื่องจากอาหารที่รับประทานอาจจะเกิดผลดีหรือไม่ดีต่อร่างกายได้ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ

3.1.1. 1. ภาวะโภชนาการดี หมายถึง ลักษณะที่ดีของร่างกาย เนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ เหมาะสม ครบถ้วน ตามความต้องการ ของร่างกาย

3.1.2. 2. ภาวะโภชนาการไม่ดีหมายถึง ลักษณะที่ไม่ดีของร่างกาย เนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลกัษณะไม่เหมาะสมตามความต้องการของร่างกาย

3.1.2.1. 2.1 ภาวะโภชนาการขาด

3.1.2.2. 2.2 ภาวะโภชนาการเกิน

3.2. การประเมินมี 4 ประเภท

3.2.1. 1. การประเมินโดยใช้วิธีการวัดสัดส่วนของร่างกาย (A = Anthropo metry Assessment)

3.2.1.1. ดัชนีมวลกาย = น้ำหนัก (กิโลกรัม) / ส่วนสูง (เมตร)2

3.2.2. 3. การประเมินโดยใช้การตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่ปรากฏให้เห็น (C = Clinical Assessment)

3.2.3. 2. การประเมินโดยใช้การวิเคราะห์สารชีวเคมีในร่างกาย (B = Bioc hemical Assessment)

3.2.4. 4. การประเมินโดยใช้การประเมินอาหารที่บริโภค (D = Dietary Assessmen t)

4. ความต้องการใน ๑ วัน

4.1. วัยผู้ใหญ่เพศหญิง

4.1.1. พลังงานที่ใช้ในแต่ละวันสำหรับผู้มีกิจกรรมปกติ ประมาณ ๑๔๐๐ กิโลแคลอรี่

4.1.2. พลังงานที่ใช้ในแต่ละวันสำหรับผู้มีกิจกรรมเคลื่อนไหวมากหรือใช้แรงงานประมาณ ๑๗๐๐ กิโลแคลอรี่

4.2. วัยผู้ใหญ่เพศชาย

4.2.1. พลังงานที่ใช้ในแต่ละวันสำหรับผู้มีกิจกรรมปกติ ประมาณ ๑๘๐๐ กิโลแคลอรี่

4.2.2. พลังงานที่ใช้ในแต่ละวันสำหรับผู้มีกิจกรรมเคลื่อนไหวมากหรือใช้แรงงานประมาณ ๒๑๐๐ กิโลแคลอรี่

5. ลักษณะอาหาร ชนิด ปริมาณพลังงานของสารอาหาร

5.1. อาหารที่เป็นแหล่งพลังงาน

5.1.1. คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม = 4 กิโลแคลอรี่

5.1.2. โปรตีน 1 กรัม = 4 กิโลแคลอรี่

5.1.3. ไขมัน 1 กรัม = 9 กิโลแคลอรี่

5.2. พลังงานที่ควรได้รับใน 1 วัน

5.2.1. ไขมัน 20-30%

5.2.2. โปรตีน 15%

5.2.3. คาร์โบไฮเดรต 55-65%

5.3. พลังงานที่ควรได้รับจากสารอาหารแต่ละประเภท (ร่างกายต้องการพลังงาน 2000 กิโลแคลอรีต่อวัน)

5.3.1. พลังงานจากคาร์โบไฮเดรต=1100-1300 กิโลแคลอรี

5.3.2. พลังงานจากโปรตีน=300 กิโลแคลอรี

5.3.3. พลังงานจากไขมัน=400-600 กิโลแคลอรี

5.4. ความต้องการสารอาหารต่อวัน (RDI)

5.4.1. คาร์โบไฮเดรต 300 กรัม

5.4.2. ความต้องการเกลือแร่และวิตามินต่อวัน

5.4.2.1. แคลเซียม 800 มิลลิกรัม

5.4.2.2. เหล็ก 15 มิลลิกรัม

5.4.2.3. วิตามินเอ 800 ไมโครกรัมอาร์อี

5.4.2.4. วิตามินบี 1.5 มิลลิกรัม

5.4.2.5. ไอโอดีน 150 ไมโครกรัม

5.4.3. ไขมัน 65 กรัม

5.4.4. ไขมันอิ่มตัว 20 กรัม

5.4.5. โปรตีน 50 กรัม

5.4.6. คอเลสเตอรอล 300 มิลลิกรัม

5.4.7. โซเดียมน้อยกว่า 2400 มิลลิกรัม