บทที่ 6 อาหารที่เหมาะสม สำหรับบุคคลในภาวะและวัยต่างๆ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 6 อาหารที่เหมาะสม สำหรับบุคคลในภาวะและวัยต่างๆ by Mind Map: บทที่ 6 อาหารที่เหมาะสม สำหรับบุคคลในภาวะและวัยต่างๆ

1. โภชนาการสำหรับทารก

1.1. แนวทางการให้อาหารตามวัย

1.1.1. อาหารทารกอายุ 7 เดือน

1.1.1.1. กินนมแม่และอาหาร 1 มื้อ ดังนี้

1.1.1.1.1. ข้าวบด 4 ช้อนกินข้าว

1.1.1.1.2. ไข่ทั้งฟอง

1.1.1.1.3. ผักสุก 1 ½ ช้อนกินข้าว

1.1.1.1.4. ผลไม้สุก

1.1.2. อาหารทารกอายุ 8-9 เดือน

1.1.2.1. กินนมแม่และอาหารอื่น 2 มื้อ ดังนี้

1.1.2.1.1. ข้าวหุงนิ่มๆ

1.1.2.1.2. ไช่ทั้งฟอง

1.1.2.1.3. ผักและผลไม้

1.1.3. อาหารทารก อายุ 10-12 เดือน

1.1.3.1. กินนมแม่และอาหารอื่น 3 มื้อ ดังนี้

1.1.3.1.1. ข้าวหุงนิ่มๆ

1.1.3.1.2. ไข่ทั้งฟองและเนื้อสัตว์

1.1.3.1.3. ผักและผลไม้

1.2. สารอาหารที่ควรได้รับสำหรับทารก

1.2.1. 2.โปรตีน

1.2.1.1. ใช้ในการสร้างเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ เป็นส่วนประกอบของฮอร์โมน เอนไซม์ ภูมิคุ้มกันโรคติดเชื้อ และ ให้พลังงาน ทารกอายุ 6-11 เดือน ควรได้รับวันละ 15 กรัม พบมากในอาหารพวกเนื้อสัตว์ นม ผลิตภัณฑ์นม ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง และผลิตภัณฑ์จากถั่ว

1.2.2. วิตามินดี

1.2.2.1. ช่วยในการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัสเพื่อใช้ในการสร้างกระดูกและฟัน ทารกอายุ 6-11 เดือนควรได้รับวันละ 5 ไมโครกรัม พบมากในไข่แดง ตับปลา ปลาทู

1.2.3. วิตามินซี

1.2.3.1. จําเป็นในการสร้างกระดูกและฟัน ช่วยรักษาและสมานแผล ช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก ทารกอายุ 6-11 เดือน ควรได้รับวันละ 35 มิลลิกรัม พบมากในมะขามป้อม มะระขี้นก ฝรั่ง

1.2.4. วิตามินบีสอง

1.2.4.1. จําเป็นต่อสุขภาพของผิวหนัง และระบบประสาท ควรได้รับวันละ 0.4 มิลลิกรัม พบมากในนม เนย ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ผักใบเขียว

1.2.5. วิตามินบีหก

1.2.5.1. จําเป็นต่อการสร้างและ สังเคราะห ์DNA RNA และโปรตีนควรได้รับวันละ 0.5 มิลลิกรัม

1.2.6. วิตามินบีสิบสอง

1.2.6.1. ควรได้รับวันละ 0.5 ไมโครกรัม พบมากในเนื้อสัตว์ ปลา ไข่ นม ถั่วเมล็ดแห้ง

1.2.7. ฟอสฟอรัส

1.2.7.1. ควรได้รับวันละ 275 มิลลิกรัม พบมากในเนื้อสัตว์นม ไข่ ถั่วต่างๆ

1.2.8. สังกะสี

1.2.8.1. ควรไดร้ับวันละ 3 มลิลกิรัม พบมากในอาหาร ทะเล ตับ ไข่แดง นม เมล็ดธญัพชื

1.2.9. ธาตุเหล็ก

1.2.9.1. ควรได้รับวันละ 9.3 มิลลิกรัม พบมากใน ตับ เลือด เนื้อสัตว์ ไข่แดง นม ถั่วเมล็ดแห้ง

1.2.10. ไอโอดีน

1.2.10.1. ควรได้รับวันละ 90 ไมโครกรัม พบมากในอาหารทะเล เกลืออนามัยที่เสริมไอโอดีน

1.2.11. แคลเซียม

1.2.11.1. ควรได้รับวันละ 270 มิลลิกรัม พบ มากในนม ปลาเล็กปลาน้อย กุ้งแห้ง ผักใบเขียว

1.2.12. วิตามินบีหนึ่ง

1.2.12.1. มีความสําคัญในกระบวนการเผา ผลาญอาหารของคาร์โบไฮเดรตทารกอายุ 6-11 เดือน ควรได้รับวันละ 0.3 มิลลิกรัม พบมากในข้าวกล้อง เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ รําข้าว งา

1.2.13. วิตามินอี

1.2.13.1. ช่วยลดการเกิดออกซิเดชั่นของกรด ไขมันไม่อิ่มตัวและช่วยรักษาสภาพของเซลล์ ทารกอายุ 6-11 เดือน ควรได้รับวันละ 5 มิลลิกรัม พบในนํ้ามันพืช ไข่แดง ถั่วเมล็ดแห้ง ผักใบเขียว

1.2.14. วิตามินเอ

1.2.14.1. ช่วยในการมองเห็น ต้านทานโรค ทารกอายุ 6 – 11 เดือน ควรได้รับวันละ 400 ไมโครกรัม พบมากในตับ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง ผักใบเขียว ผักที่มีสีีเหลือง ผลไม้ที่มีสีเหลือง

1.2.15. 1.พลังงาน

1.2.15.1. ร่างกายต้องการพลังงานเพื่อการทํางานของอวัยวะต่างๆ เพื่อการเจริญเติบโตของทารก สารอาหารที่ให้พลังงานได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน ทารกอายุ 6 – 11 เดือนควรได้รับวันละ 800 กิโลแคลอรี

2. โภชนาการสำหรับเด็กวัยก่อนเรียน

2.1. สารที่ควรได้รับสำหรับเด็กวัยก่อนเรียน

2.1.1. พลังงาน

2.1.1.1. ควรได้รับวัน ละ 1300 กิโลแคลอรี

2.1.2. โปรตีน

2.1.2.1. ควรได้รับวัน ละ 22 กรัม

2.1.3. วิตามินเอ

2.1.3.1. เด็กอายุ 1-3 ปี ควรได้รับวิตามินวันละ 400 ไมโครกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับวันละ 450 ไมโครกรัม พบมากในตับ ไข่แดง ผักใบเขียว

2.1.4. วิตามินซี

2.1.4.1. เด็กอายุ 1-3 ปี และเด็กอายุ 4-5 ปี ควร ได้รับวิตามินซีวันละ 40 มิลลิกรัม พบมากในผักสด และผลไม้ สด

2.1.5. วิตามินบีหนึ่ง

2.1.5.1. เด็กอายุ 1-3 ปีควรได้รับวิตามินบี 1 วันละ 0.5 มิลลิกรัม ส่วนเด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับวันละ 0.6 มิลลิกรัม พบมากในข้าวกล้อง เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ รําข้าว เมล็ดธัญพืช งา

2.1.6. วิตามินบีสอง

2.1.6.1. เด็กอายุ 1-3ปี ควรได้รับวันละ 0.5 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับวันละ 0.6 มิลลิกรัม พบ มากในนม เนย ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง เนื้อสัตว์ ผักใบเขียว

2.1.7. วิตามินบีหก

2.1.7.1. เด็กอายุ 1-3 ปี ควรได้รับวันละ 0.5 มิลลิกรัม เด็ก 4-5 ปี ควรได้รับวันละ 0.6 มิลลิกรัม พบมากใน เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ข้าวกล้อง นม ไข่แดง ผักใบเขียว

2.1.8. วิตามินบีสิบสอง

2.1.8.1. เด็กอายุ 1-3ปี ควรได้รับวันละ 0.9 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับวันละ 1.2 มิลลิกรัม

2.1.9. แคลเซียม

2.1.9.1. เด็กอายุ 1-3ปี ควรได้รับ วันละ 500 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปีควรได้รับวันละ 800 มิลลิกรัม พบมากในนม ปลาเล็กปลาน้อย กุ้งแห้ง ผักใบเขียว

2.1.10. ฟอสฟอรัส

2.1.10.1. เด็กอายุ 1-3 ปี ควรได้รับวันละ 460 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับวันละ 500 มิลลิกรัม พบมากในเนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่วต่างๆ

2.1.11. ธาตุเหล็ก

2.1.11.1. เด็กอายุ 1-3ปี ควรได้รับวันละ 460 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับวันละ 500 มิลลิกรัม พบมากใน ตับ เลือด เนื้อสัตว์ ไข่แดง นม ถั่วเมล็ดแห้ง ผักใบเขียว

2.1.12. ไอโอดีน

2.1.12.1. เด็กอายุ 1-3 ปี ควรได้รับวันละ 90 มิลลิกรัม เท่ากับเด็กอายุ 4-5 ปี พบมากในอาหารทะเล ผักที่อยู่ใก้ลทะเล

3. อาหารสำหรับวัยเรียน

3.1. ความต้องการสารอาหารในเด็กวัยเรียน

3.1.1. พลังงาน

3.1.1.1. เด็กอายุ 6-8ปีทั้งชายและหญิง ควรได้รับ พลังงานวันละ 1400 กิโลแคลอรี เด็กอายุ 9-12ปี (ชาย)ควรได้รับ พลังงานวันละ 1700 กิโลแคลอรีและเด็กอายุ 9-12 ปี (หญิง) ควรได้รับพลังงานวันละ 1600 กิโลแคลอรี

3.1.2. โปรตีน

3.1.2.1. เด็กวันเรียนอายุ 6-8 ปี มีความต้องการเป็น 28 กรัม/วัน เด็กอายุ 9-12ปี (ชาย) มีความต้องการ 40 กรัม/วัน เด็กอายุ 9-12 ปี (หญิง) มีความต้องการเป็น 41 กรัม/วัน

3.1.3. แคลเซียมและฟอสฟอรัส

3.1.3.1. เด็กอายุ 6-8 ปี ควรได้รับวันละ 800 มิลลิกรัม/วัน และเด็กอายุ 9-12ปี ควรได้รับ 1000 มิลลิกรัม/วัน ขาดทำให้ร่างกายเจริญเติบโตไม่เต็มที่

3.1.4. ธาตุเหล็ก

3.1.4.1. เด็กอายุ 6-8 ปี เป็น 8.1 มิลลิกรัม เด็กอายุ 912 ปี (ชาย) เป็น 11.8 มิลลิกรัม และเด็กอายุ 9-12 ปี (หญิง) เป็น 19.1 มิลลิกรัมขาดทำให้เกิดโรคโลหติจาง

3.1.5. ไอโอดีน

3.1.5.1. เด็กอายุ 6-8 ปี และวัย 9-12 ปี ควรเป็น 120 ไมโครกรัม เพื่อป้องกันการเกิดคอพอกในเด็กวัยเรียน

3.1.6. สังกะสี

3.1.6.1. เด็กอายุ 6-8 ปี วันละ 4 มิลลิกรัม เด็กอายุ 9-12 ปี วันละ 5 มิลลิกรัม ถ้าขาดจะทำให้การเจริญเติบโตหยุดชะงัก

3.1.7. วิตามินดี

3.1.7.1. เด็กวัยเรียนอายุ 6-8 ปี และ 9-12 ปี เป็น 5 ไมโครกรัม/วัน

4. โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์

4.1. สารอาหารที่ควรได้รับในขณะที่ตั้งครรภ์

4.1.1. 1.พลังงาน

4.1.1.1. ในขณะที่ตั้งครรภ์ จําเป็นต้องได้รับพลังงานเพิ่มขึ้น เพื่อใช้สําหรับเมทาบอลิซึมที่เพิ่มขึ้นเพื่อการเจริญเติบโตของอวัยวะของแม่ และการเพิ่มขนาดของตัวเด็กและรก เมื่อตั้งครรภ์จะต้องกินอาหารให้ได้พลังงานเพิ่มขึ้น ควรเพิ่มอีกวันละ 300 กิโลแคลอรี่

4.1.2. 2.โปรตีน

4.1.2.1. ร่างกายต้องการโปรตีนเพื่อสร้าง เนื้อเยื่อ ทั้งกล้ามเนื้อและสมองของเด็ก และสร้างเนื้อเยื่อ ทางฝ่ายแม่

4.1.3. 3.ธาตุเหล็ก

4.1.3.1. ธาตุเหล็กเป็นแร่ธาตุที่จําเป็นต่อารสรา้งเม็ดเลือดแดงและ องคป์ระกอบของฮีโมโกลบนิซึ่งทาํหนา้ทถี่า่ยออกซิเจนในร่างาย ถา้ร่างกายไดร้ับธาตุเหล็กไม่เพยีงพอจะเกิดการซีดได และการคลอดทารกนํ้าหนักนอ้ย

4.1.4. 4.แคลเซียม

4.1.4.1. มีความสำคัญต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ และการรักษาปริมาณ มวลกระดูกของมารดา

4.1.5. 5.สังกะสี

4.1.5.1. ทําหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการระบบบภูมิคุ้มกัน อายุขัยของเซลล ์ภาวะขาดสังกะสีขณะตั้งครรภ์ทําให้ทารกในครรภ์เจริญ เติบโตช้า นํ้าหนักแรกคลอดตํ่า หญิงตั้งครรภ์ควรได้สังกะสีเพิ่มวันละ 2 มิลลิกรัม

4.1.6. 6.ไอโอดีน

4.1.6.1. ภาวะขาดเสี่ยงต่อการแท้งบุตร ทารกตาย ขณะคลอด หรือมีความผิดปกติของสมองและระบบประสาท ควรได้ไอโอดีนเพิ่มวันละ 50 ไมโครกรัม

4.1.7. 7.วิตามินบี 1

4.1.7.1. ควรได้เพิ่มวันละ 0.3 มิลลิกรัม

4.1.8. 8.วิตามินบี 6

4.1.8.1. ช่วยในการเผาผลาญและสังเคราะห์ กรดอะมิโน ช่วยสังเคราะห ์heme ปริมาณที่ควรได้รับเพิ่มเป็น 0.6 มิลลิกรัม

4.1.9. 9. วิตามินโฟลาซิน

4.1.9.1. ถ้าขาดจะส่งผลให้เด็กทารกที่คลอดออกมาพิการทางสมอง หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับวันละ 500 ไมโครกรัม

4.2. อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์

4.2.1. สําหรับหญิงตั้งครรภ์ต้องการพลังงานวันละ 2050 กิโลแคลอรี ดังนี้

4.2.1.1. อาหารกลุ่มข้าว แป้ง วันละ 9 ทัพพี

4.2.1.2. อาหารกลุ่มผัก วันละ 6 ทัพพี

4.2.1.3. อาหารกลุ่มผลไม้วันละ 5 ส่วน

4.2.1.4. อาหารกลุ่มเนื้อสัตว์วันละ 12 ช้อนกินข้าว

4.2.1.5. อาหารนมและผลิตภัณฑ์นม วันละ 3 แก้ว

4.2.1.6. อาหารกลุ่มไขมัน วันละ 5 ช้อนชา

5. โภชนาการสำหรับหญิงให้นมบุตร

5.1. สารอาหารที่ควรได้รับในขณะที่ให้นมบุตร

5.1.1. 1.พลังงาน

5.1.1.1. ในระยะให้นมบตุร แม่จ่ําเป็นต้องได้รับพลังงาน เพิ่มขึ้นเพื่อใช้เป็นพลังงานในการผลิตนํ้านม หญิงให้นมบุตรต้องได้รับพลังงานเพิ่มอีกวันละ 500 กิโลแคลอรี่

5.1.2. 2.โปรตีน

5.1.2.1. แม่จ่ําเป็นต้องได้รับโปรตีนใหเ้พียงพอเพื่อใช้ในการสร้างนํ้านมสำหรับทารก และเพื่อซ่อมแซมเซลล์ต่างๆที่สูญเสียไปในการคลอดทารก

5.1.3. 3.วิตมิน

5.1.3.1. วิตามินเอ

5.1.3.1.1. เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของนํ้านมแม่ควรได้รับวิตามินเอเพิ่มขึ้นอีกวันละ 375 ไมโครกรัม วิตามินเอจากไข่แดง ตับสัตว์ ผัก ใบเขียว และผักสีเหลือง

5.1.3.2. วิตามินดี

5.1.3.2.1. หญิงให้นมบุตรได้รับเท่าปกติก่อนตั้งครรภ์ซึ่งได้ จากไข่แดง ตับปลา นํ้านม

5.1.3.3. วิตามินบี 1

5.1.3.3.1. ควรได้พิ่มอีก 0.3 มิลลิกรัม ซึ่่งได้จากเนื้อ หมู ถั่วเมล็ดแห้ง

5.1.3.4. วิตามินบี 2

5.1.3.4.1. หญิงให้นมบุตรควรได้รับเพิ่มอีกวันละ 0.5 มิลลิกรัมซึ่งได้จากเนื้อสัตว์ ตับ ไข่ ถั่วต่างๆ ผักใบเขียว

5.1.3.5. วิตามินซี

5.1.3.5.1. ควรได้รับเพิ่มอีกวันละ 35 มิลลิกรัม

5.1.4. 4.เกลือแร่

5.1.4.1. ธาตุเหล็ก

5.1.4.1.1. หญิงให้นมบุตรควรได้รับธาตุเหล็กจากอาหารวันละ 15 มิลลิกรัม ซึ่งได้จากการกินเครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ ผักใบเขียว ผลไม้เพื่อให้ได้รับ วิตามินซี ซึ่งจะช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็กดีขึ้น

5.1.4.2. แคลเซียม

5.1.4.2.1. ในระยะให้นมบุตร แม่ต้องการแคลเซียมเท่าปกติ ซึ่งได้จากการดื่มนํ้ามันปลาเล็กน้อยหรือปลาที่กินได้ทั้งกระดูก ผักใบเขียว

5.1.4.3. ไอโอดีน

5.1.4.3.1. หญิงให้นมบุตรจึงควรได้รับไอโอดีนเพิ่มอีกวันละ 50 ไมโครกรัม ซึ่งได้จากการกินอาหารทะเล เช่น หอย ปู กุ้ง ปลา

5.2. อาหารสำหรับให้นมบุตร

5.2.1. อาหารสําหรับหญิงตั้งครรภ์ต้องการพลังงานวันละ 2,250 กิโลแคลอรี

5.2.1.1. อาหารกลุ่มข้าว-แป้ง กินวันละ 9 ½ ทัพพี

5.2.1.2. อาหารกลุ่มผักกินวันละ 7 ทัพพี

5.2.1.3. อาหารกลุ่มผลไม ้กินวันละ 7 ส่วน

5.2.1.4. อาหารกลุ่มเนื้อสัตว์กินวันละ 12 ส่วน

5.2.1.5. อาหารกลุ่มนมและผลิตภัณฑ์นม กินวันละ 3แก้ว

5.2.1.6. อาหารกลุ่มไขมันกินวันละ 5 ช้อนชา