การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของ ระบบทางเดิ...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของ ระบบทางเดินหายใจ by Mind Map: การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่         ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของ  ระบบทางเดินหายใจ

1. ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหายใจ

1.1. 1.การระบายอากาศไม่เพียงพอ (Alveolar hypoventilation)

1.2. 2. การบกพร่องในการซึมผ่าน (Diffusion defect or impairment)

1.3. 3. ความไม่สมดุลของอัตราส่วนการระบายอากาศกับการไหลเวียนเลือดVentilation/perfusion mismatch

1.4. 4.เลือดไหลทางลัด (Shunt effect)

2. Respiratory Acidosis

2.1. Hypoventilation

2.1.1. PaCO2 > 45 mmHg

2.1.2. การหายใจการแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลง หายใจออกลดลง

2.1.3. ได้รับยา ประเภท narcotic, barbiturate เกินขนาด และก้านสมองได้รับบาดเจ็บ กดศูนย์ควบคุมการหายใจ

2.1.4. อัมพาตของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ

2.1.5. Respiratory failure, airway obstruction, chest injury

2.1.6. ซึม เวียนศีรษะ หายใจลำบาก หายใจลดลง หมดสติ

2.2. การรักษา Respiratory Acidosis

2.2.1. ขจัดสาเหตุ

2.2.2. ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ

2.2.3. ให้การรักษาตามโรค เช่น ให้ยาปฏิชีวนะในโรคปอดอักเสบ ยาขยายหลอดลม และ สเตียรอยด์ในโรคหอบหืด

2.2.4. ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต

3. Respiratory Alkalosis

3.1. Hyperventilation

3.1.1. PaCO2 < 35 mmHg

3.1.2. การหายใจเร็ว ภาวะหอบหืด ปอดอักเสบ ไข้สูง วิตกกังวล

3.1.3. เนื้องอกในสมอง สมองได้รับบาดเจ็บ ทำให้ศูนย์ควบคุมการหายใจทำงานผิดปกติ

3.1.4. การตั้งเครื่องช่วยหายใจไม่เหมาะสม

3.1.5. ซึม สับสน หายใจเร็วลึก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก หมดสติ

3.2. การรักษา Respiratory Alkalosis

3.2.1. ปรับลด Tidal volume , RR

3.2.2. ให้ยาแก้ปวด

3.2.3. Hyperventilation syndrome ให้ผู้ป่วยหายใจในถุงกระดาษ

3.2.4. ให้ Sedative drug

4. Blood Gas Analysis

4.1. pH ภาวะความเป็นกรดด่าง

4.1.1. 1. ดูที่ค่า pH ค่า pH ปกติ คือ 7.35 -7.45 ถ้า pH < 7.35 เรียกว่า acidosis pH > 7.45 เรียกว่า alkalosis

4.2. PaO2 Partial pressure of oxygen in blood

4.2.1. 2. ดูที่ค่า PaCO2 ค่าปกติ PaCO2 อยู่ในช่วง 35-45 mmHg ถ้า PaCO2<35 mmHg เรียกว่า alveolar hyperventilation PaCO2>45mmHg เรียกว่า alveolar hypoventilation

4.3. PCO2 Partial pressure of carbon dioxide in blood

4.3.1. 3. ดูที่ค่า PaO2 ค่าปกติของ PaO2 อยู่ในช่วง 80-100 mmHg

4.4. HCO3- ความเข้มข้นของไบคาร์บอเนตในพลาสมา

4.4.1. 4. ดูที่ค่า HCO3 22-26 mEq/L

4.5. BE ปริมาณ Base excess ในร่างกาย

4.5.1. 5.ดูค่าBE + 2.5 mEq/L

4.6. SO2 ระดับความอิ่มตัวของฮีโมโกลบินในเลือด

4.7. CO2 ปริมาณ CO2 ที่ละลายอยู่ในพลาสมา

5. Metabolic Acidosis

5.1. HCO3 < 22 mE

5.2. สาเหตุ

5.2.1. ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้ ท้องร่วงรุนแรง ไตวาย เบาหวานที่ขาดอินซูลิน กรดแลคติกคั่ง จากออกกำลังกายหักโหม

5.3. การรักษา Metabolic Acidosis

5.3.1. ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต Hemodialysis

5.4. อาการ

5.4.1. ปวดศีรษะ สับสน อาเจียนท้องเดิน หายใจหอบลึก เป็นตะคริวที่ท้อง ชาปลายมือ ปลายเท้า

6. Metabolic Alkalosis

6.1. HCO3 > 26 mEq

6.2. สาเหตุ

6.2.1. อาเจียนรุนแรง, ใส่ gastric suction เป็นเวลานาน ได้รับยาขับปัสสาวะมาก ท้องผูกหลายวัน มีการดูดซึมกลับของ HCO3-

6.3. อาการ

6.3.1. สับสน ไวต่อการกระตุ้น ชัก (Ca ต่ำ) คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (K ต่ำ) กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลำไส้ไม่ทำงาน

6.4. การรักษา

6.4.1. ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ

7. Bronchitis

7.1. สาเหตุ

7.1.1. สูบบุหรี่ ควัน ฝุ่นละออง การติดเชื้อ

8. Emphysema

8.1. สาเหตุ

8.1.1. สูบบุหรี่ ควัน ฝุ่นละออง การติดเชื้อ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง

9. โรคปอดอักเสบ

9.1. ปอดอักเสบ (Pneumonia,Pneumonitis)เป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมปอดทำให้เนื้อปอดแข็งและมีหนองในถุงลมปอด มักพบในคนที่ไม่แข็งแรง มีภูมิต้านทานโรคต่ำ

9.2. สาเหตุ

9.2.1. 1.ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella

9.2.2. เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส

9.2.3. เชื้อไมโคพลาสมา ทำให้เกิดปอดอักเสบชนิดที่เรียกว่า Atypical Pneumonia

9.2.4. เชื้อรา พบได้ค่อนข้างน้อย

9.2.5. เชื้อโปรโตซัว Pneumocystis carinii

9.2.6. สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าดสำลักเข้าไปในปอด ควันพิษ สำลักอาหาร

9.3. ปัจจัยเสี่ยง

9.3.1. 1.ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หรือหอบหืด

9.3.2. 2. ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก

9.3.3. 3. ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด หรือมีภาวะขาดสารอาหาร

9.3.4. 4. ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย ซึ่งมักพบในผู้ที่หมดสติ หรือชัก

9.3.5. 5. ผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ เจาะคอ หรือใส่สายให้อาหาร

9.4. ประเภท

9.4.1. Hospital–acquired peumonia (HAP)

9.4.2. Ventilator associated peumonia (VAP)

9.4.3. Community–acquired peumonia (CAP)

9.4.4. Healthcare associated peumonia (HCAP)

9.5. การวินิจฉัย

9.5.1. ไข้สูง (39-40 ºซ.) หน้าแดง ริมฝีปากแดง ลิ้นเป็นฝ้า หายใจตื้นแต่ถี่ ๆ นาทีละ 30-40 ครั้ง ซี่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน อาจมีอาการตัวเขียวหรือภาวะขาดน้ำ

9.5.2. อาจมีเริมขึ้นที่ริมฝีปาก ปอดอาจเคาะทึบ (dullness) เสียงหายใจค่อย (diminished breath sound) มีเสียงกรอบแกรบ (crepitation) ซึ่งมักจะได้ยินตรงใต้สะบัก ทั้ง 2 ข้าง

9.6. พยาธิสภาพ

9.6.1. ระยะที่ 1

9.6.1.1. ระยะเลือดคั่ง ผนังถุงลมบวม

9.6.2. ระยะที่ 2

9.6.2.1. ระยะปอดแข็งตัว พบโมโนนิวเคลียร์และไฟบรินแทรกอยู่ จะมีน้ำและ Exudate คั่งในถุงลม

9.6.3. ระยะที่ 3

9.6.3.1. ระยะฟื้นตัว

9.7. การรักษา

9.7.1. เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ

9.7.2. ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Cephalosporins,Ampicilin ยาแก้ไอ ยาขับเสมหะ

9.7.3. ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ

9.7.4. ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโตรลัยท์

9.7.5. ให้อาหารโปรตีนสูง

9.7.6. ดูแลความสะอาดของปากและฟันให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ

9.7.7. ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ

10. (Pleural effusion)

10.1. สาเหตุ

10.1.1. โรคปอด เช่น วัณโรคเยื่อหุ้มปอด ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดร่วมกับปอดอักเสบ

10.1.2. มะเร็งปอดหรือมะเร็งอวัยวะอื่นที่แพร่กระจายมายังเยื่อหุ้มปอด

10.1.3. โรคหัวใจ ได้แก่ ภาวะหัวใจวาย เลือดคั่ง

10.1.4. โรคไต ได้แก่ ภาวะไตวาย กลุ่มอาการที่มีไข่ขาวในปัสสาวะ

10.1.5. โรคตับแข็ง

10.1.6. โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น โรคเอสแอลอี

10.1.7. โรคอื่นๆ ที่พบได้ไม่บ่อย เช่น น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดที่เกิดร่วมกับฝีบิดในตับ ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน เป็นต้น

10.2. การวินิจฉัย

10.2.1. ประวัติ

10.2.1.1. การเกิดโรคที่เป็นต้นเหตุ

10.2.2. การตรวจร่างกาย

10.2.2.1. ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงลดลง ได้ยินเสียง pleural friction rub อาจพบหลอดลมคอเอียง

10.2.3. พยาธิสภาพ

10.2.3.1. ร่างกายมีการสร้างของเหลวในชั้นของเยื่อหุ้มปอดมากจนเกินไป จนเบียดพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซของปอด

10.2.3.1.1. น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวใส (Transudative pleural effusion) มีสาเหตุเกิดจากหัวใจล้มเหลว ไตวาย ตับแข็ง

10.2.3.1.2. น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น มักเกิดจากการอักเสบ เช่น การติดเชื้อในปอด วัณโรค มะเร็งปอด

10.2.4. การรักษา

10.2.4.1. เจาะของเหลวออก

10.2.4.2. รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดขึ้นมาอีก

11. The Severity of Hypoxemia

11.1. Normal

11.1.1. PaO2 = 80 – 100 mmHg

11.2. Mild Hypoxemia

11.2.1. PaO2 = 60 – 80 mmHg

11.3. Moderate Hypoxemia

11.3.1. PaO2 = 40 – 60 mmHg

11.4. Severe Hypoxemia

11.4.1. PaO2 < 40 mmHg

12. ภาวะหายใจล้มเหลว (Respiratory Failure)

12.1. การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนในเลือดแดง PaO2 ต่ำกว่า 50 mmHg ความดันคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดง PaCO2 มากกว่า 50 mmHg

12.2. Pa O2 = 104 –0.27 (age)

12.3. Caused

12.3.1. -Decreased Fi O2 -Hypoventilation -V/Q mismatch -Diffusion defect

12.4. ชนิดของการหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน

12.4.1. ชนิดที่ 1 Oxygenation failure

12.4.1.1. มีภาวะHypoxemia,PaO2≤ 60mmHg Gas exchange failure “hypoxemia

12.4.2. ชนิดที่ 2 Ventilatory failure

12.4.2.1. มีภาวะHypoxemia,PaO2 ≤ 45 mmHg และ pH<7.35 “hypercapnia”

12.5. แบ่งตามระยะเวลาที่เกิดปัญหา

12.5.1. การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง

12.6. การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน

13. โรคที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ

13.1. โรคหืด (Asthma)

13.1.1. การอักเสบเรื้อรังของหลอดลมมีผลทำให้หลอดลมผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้หรือสิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ

13.1.2. ปัจจัยและสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการ

13.1.2.1. สารก่อภูมิแพ้ : ภายในอาคาร ได้แก่ ไรฝุ่น แมลงสาบ สัตว์เลี้ยง สปอร์เชื้อรา : ภายนอกอาคาร ได้แก่ เกสรหญ้า วัชพืช สปอร์เชื้อรา

13.1.2.2. สารระคายเคือง ได้แก่ น้ำหอม กลิ่น สี ทินเนอร์ น้ำยาหรือสารเคมี ละอองยาฆ่าแมลง ฝุ่นก่อสร้าง ฝุ่นหิน ฝุ่นดิน ควันบุหรี่ ควันธูป ควันท่อไอเสีย

13.1.2.3. ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker

13.1.2.4. การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น

13.1.2.5. สาเหตุอื่น ๆ เช่น การออกกำลังกาย ความชื้น ความเย็น

13.1.3. การวินิจฉัย

13.1.3.1. ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด

13.1.3.2. มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น

13.1.3.3. พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis

13.1.3.4. มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด

13.1.3.5. เกิดอาการหลังออกกำลังกาย

13.1.3.6. (Pleural effusion)

13.1.4. เป้าหมายของการรักษา

13.1.4.1. สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบลงได้

13.1.4.2. ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค ยกระดับสมรรถภาพการทำงานของปอด

13.1.4.3. สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงกับคนปกติ

13.1.4.4. หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จากยารักษาโรคให้น้อยที่สุด

13.1.4.5. ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด

13.1.5. Asthma medications

13.1.5.1. Controllers

13.1.5.1.1. -taken daily on a long-term basis -to keep asthma under clinical control -anti-inflammatory effects

13.1.5.2. Relievers

13.1.5.2.1. taken as-needed basis act quickly to reverse bronchoconstriction and relieve asthma symptoms

14. (Chronic Obstructive Pulmonary Disease)

14.1. อาจเกิดจาก 2 โรค

14.1.1. 1.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (chronic bronchitis) 2. โรคถุงลมโป่งพอง (pulmonary emphysema)

14.2. ปัจจัยเสี่ยง

14.2.1. ปัจจัยด้านผู้ป่วย เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม

14.2.2. ปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม มีความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ควันสูบบุหรี่ ควันไฟ การติดเชื้อของปอดและทางเดินหายใจเรื้อรัง

14.3. การวินิจฉัย

14.3.1. ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ

14.3.1.1. ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์ และการหายใจเร็ว

14.3.1.2. ไอมีเสมหะเรื้อรัง

14.3.1.3. เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม

14.3.1.4. เม็ดเลือดแดงเพิ่ม

14.3.2. ตรวจภาพรังสีทรวงอก

14.3.2.1. หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น

14.3.3. การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด

14.3.3.1. พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ

14.3.4. การตรวจวิเคราะห์กาซในเลือดแดง

14.3.4.1. พบค่า PaCO2 สูงขึ้น

14.4. เป้าหมายของการรักษา

14.4.1. 1.บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด 2.ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค 3.ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น

14.5. การแบ่งระดับความรุนแรงและการรักษา

14.5.1. ระดับที่ 1 mild

14.5.1.1. อาการทางคลินิก -ไม่มีอาการเหนื่อยขณะพัก -ไม่มี Exacerbation สมรรถภาพปอด FEV1 >= 80 % ของค่ามาตรฐาน

14.5.1.1.1. การรักษา -แนะนำและช่วยให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่ -ยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น -ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่

14.5.2. ระดับที่ 2 Moderate

14.5.2.1. อาการทางคลินิก -มีอาการหอบเหนื่อยเล็กน้อย -มี Exacerbation ไม่รุนแรง สมรรถภาพปอด FEV1 50-79 % ของค่ามาตรฐาน

14.5.2.1.1. การรักษา -เหมือนระดับที่ 1ร่วมกับให้ยาขยายหลอดลมตามเวลา -เริ่มการฟื้นฟู

14.5.2.1.2. การรักษา -เหมือนระดับที่ 1ร่วมกับให้ยาขยายหลอดลมตามเวลา -เริ่มการฟื้นฟู

14.5.3. ระดับที่ 3 Severe

14.5.3.1. อาการทางคลินิก -มีอาการหอบเหนื่อยจนรบกวนกิจวัตรประจำวัน -มี Exacerbation รุนแรงมาก สมรรถภาพปอด FEV1 30-49 % ของค่ามาตรฐาน

14.5.3.1.1. การรักษา -เหมือนระดับที่ 2และเปลี่ยนเป็นยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว ตามเวลา -ให้ออกซิเจน ให้ยา ICS

14.5.4. ระดับที่ 4 Very Severe

14.5.4.1. อาการทางคลินิก -มีอาการหอบเหนื่อยตลอดเวลา -มี Exacerbation รุนแรงมากและบ่อย สมรรถภาพปอด FEV1 < 30 % ของค่ามาตรฐาน FEV1 < 50 % ของค่ามาตรฐานร่วมกับหัวใจล้มเหลว

14.5.4.1.1. การรักษา -เหมือนระดับที่ 3 -พิจารณาวางแผนชีวิตระยะสุดท้าย

14.5.5. แนวทางการรักษาระยะที่โรคสงบ

14.5.5.1. การรักษาทางยา

14.5.5.1.1. 1.1 bronchodilator 1.2. Methylxanthine 1.3 Corticosteroid

14.5.5.2. การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด

14.5.5.2.1. ออกกำลังกาย -แบบแอโรบิค ฝึกกล้ามเนื้อ -การหายใจแบบ Pursed –lip

14.5.5.3. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควรรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตมาก

14.5.5.4. เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ควรรีบพบแพทย์

14.5.5.5. หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้

14.5.5.6. แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี

14.5.5.7. การหยุดบุหรี่

15. Pulmonary embolism

15.1. ภาวะที่ลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดในปอด

15.2. สาเหตุ

15.2.1. 1.Venous stasis

15.2.2. 2. Vessel injury

15.2.3. 3. Hypercoagulability

15.3. พยาธิสภาพ

15.3.1. 1. Hypoxic V/Q imbalance

15.3.2. 2. Vasoconstrict

15.3.3. 3. Decrease surfactant

15.3.4. 4. Pulmonary edema

15.3.5. 5. Atelectasis alveolar dead space

16. (Adult Respiratory Distress Syndrome)

16.1. พยาธิสภาพ

16.1.1. ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium

16.1.2. ความผิดปกติที่ alveolar epithelium

16.1.3. การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ

17. (Hemothorax)

17.1. สาเหตุ

17.1.1. Penetrating chest injury

17.1.2. Intercosta chest injury

17.1.3. Blunt chest injury

17.1.4. Decelerating

17.2. การวินิจฉัย

17.2.1. อาการ

17.2.1.1. แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ ความดันโลหิตต่ำ หรือ ช็อกจากการเสียเลือด

17.2.2. ตรวจร่างกาย

17.2.2.1. อาจพบหลอดลมคอ และหัวใจถูกดันไปด้านตรงข้าม เสียงลมเข้าปอดเบาหรือไม่ได้ยินเลย เคาะทรวงอกจะพบว่าทรวงอกเคาะทึบ

17.2.3. ภาพถ่ายรังสีทรวงอก

17.2.3.1. จะเห็นเงาของเหลวเป็นสีขาวทึบอยู่ระหว่างปอดกับผนังทรวงอกหรือกระบังลม ถ้ามีเลือดมากเงาทึบอาจจะบังปอดข้างนั้นไว้หมด ถ้าใช้เข็มเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอดจะได้เลือดไม่แข็งตัว

18. Pneumothorax)

18.1. Simple pneumothorax

18.1.1. เกิดจากแรงกระแทกทำให้เยื่อหุ้มปอดฉีกขาด หรืออาจเกิดจากการทำหัตถการที่ใกล้ทรวงอก การแทงสายยางเพื่อเข้าหลอดเลือดดำใหญ่

18.2. Spontaneous pneumothorax

18.2.1. เป็นสภาวะที่มีลมอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity) ซึ่งเกิดจากการแตกของถุงลมในปอด

18.3. Tension pneumothorax

18.3.1. เป็นภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอดและลมไม่หยุดรั่วและไม่กลับออกไป จึงทำให้มีลมค้างในช่องอกเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

18.4. การรักษา

18.4.1. ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม หรือวาสลินก๊อส

18.4.2. ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ

18.4.3. ติดตามอาการ เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด จากการช่วยหายใจและจากการที่มีลมรั่วจากปอดที่ได้รับบาดเจ็บผ่านเข้าทางช่องเยื่อหุ้มปอด

18.4.4. ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาผ้าปิดแผลออกเพื่อให้อากาศระบายออกได้

18.4.5. ถ้าไม่ได้ผล ให้ใช้เข็มเจาะระบายลม

19. Lung cancer

19.1. Adrenocarcinoma

19.2. Squamous cell carcinoma

19.3. Large cell carcinoma

19.4. Small cell carcinoma