การให้คำปรึกษาก่อนสมรส

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การให้คำปรึกษาก่อนสมรส by Mind Map: การให้คำปรึกษาก่อนสมรส

1. วัตถุประสงค์

1.1. 1. สร้างความเข้าใจระหว่างชายและหญิงเรียนรู้อารมณ์ซึ่งกันและกัน 2. เตรียมความพร้อมในการสมรส เช่น ตรวจร่างกายโรคทางเพศสัมพันธ์โรคพันธุกรรม 3. ให้เข้าใจในการปฏิบัติในชีวิตครอบครัวและพร้อมที่จะมีบุตรโดยให้ความรู้ในเรื่องการวางแผนครอบครัวการกำเนิดของชีวิตการตั้งครรภ์โรคพันธุกรรม

2. การให้คำแนะนำ

2.1. 1. การพิจารณาเลือกคู่ครองฐานะระดับการศึกษาอาชีพรายได้อายุ

2.2. 2. กฎหมายระหว่างคู่สมรส

2.3. 3. คำแนะนำทั่วไประยะเวลาที่เหมาะสมที่จะแต่งงาน ได้แก่ ร่างกายพร้อมวุฒิภาวะอารมณ์พร้อมมีความรู้สึกที่ดีต่อกันรักและเข้าใจกันมีความรู้เรื่องเพศ

2.4. 4. การใช้ชีวิตคู่สาเหตุการขัดแย้งในครอบครัวการสร้างบรรยากาศในบ้านใช้เหตุผลในการตกลงกันอย่าใช้อารมณ์มีความรู้เรื่องเพศศึกษา

2.5. 5. หน้าที่ของภรรยาและสามีการเตรียมตัวเมื่อมีบุตร 6. การให้ความรู้เกี่ยวกับแรงจูงใจที่จะทำให้บุคคลต้องการแต่งงานหรือมีครอบครัวมีเพื่อนคู่คิดสร้างสรรค์ครอบครัวและความต้องการทางเพศ

2.6. 7. การแนะนำเกี่ยวกับปัญหาด้านร่างกายอารมณ์กายวิภาคสรีรวิทยาของร่างกายการเจริญพันธุ์กลไกการปฏิสนธิและการคลอดการปรับตัวซึ่งกันและกัน

2.7. 8. การวางแผนครอบครัวคุมกำเนิด

2.8. 9. โรคพันธุกรรมพร้อมทั้งแนะนำให้เตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์เพื่อลดโอกาสเกิดความพิการทางสมองในทารก

2.9. 10.การตรวจร่างกายก่อนสมรส

3. หลักให้คำปรึกษา

3.1. 1. มุ่งประโยชน์ของผู้ป่วยและครอบครัวเป็นหลักผลในการลดอุบัติการณ์ของโรคในประชากรถือเป็นผลพลอยได้ 2. การให้ข้อมูลที่เป็นความจริงเหมาะสมกับความแตกต่างของบุคคลเป็นการให้ทางเลือกเพื่อให้คู่สมรสปรึกษาหารือเลือกการปฏิบัติร่วมกันเพื่อลดความวิตกกังวลและความกลัว 3. ให้คู่สมรสรับการปรึกษาพร้อมกันเพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ตรงกันร่วมกันตัดสินใจ 4. ระยะเวลาที่เหมาะสมคือระยะก่อนแต่งงาน (Premarital counseling) หรือก่อนการตั้งครรภ์ (Preconceptional counseling) 5. ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นผู้ตัดสินใจในทางเลือกต่างๆ 6. ผู้ให้คำปรึกษาต้องเป็นผู้ที่มีความรู้อย่างดี

4. บทบาทพยาบาล

4.1. 1. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการถ่ายทอดของโรค 2. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติครอบครัวและประวัติการเจ็บป่วย 3. จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อผู้รับบริการ1. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการถ่ายทอดของโรค 2. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติครอบครัวและประวัติการเจ็บป่วย 3. จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อผู้รับบริการ

5. การให้คำปรึกษาปัญหาทางพันธุกรรม

5.1. วัตถุประสงค์

5.1.1. เพื่อช่วยเหลือครอบครัวให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพที่ดีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเกิดโรคทางพันธุกรรมและโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค

6. กลุ่มเป้าหมาย

6.1. 1. คู่สมรสที่มีบุตรหรือญาติที่มีความผิดปกติแต่กำเนิดเช่นมีบุตรปัญญาอ่อน 2. ครอบครัวที่มีปัญหาสุขภาพ 3. ครอบครัวที่ทราบแน่ชัดว่ามีโรคทางพันธุกรรม 4. ครอบครัวที่สมาชิกมีประวัติความผิดปกติเกี่ยวกับโรคการเผาผลาญแต่กำเนิด 5. ครอบครัวที่เป็นพาหะของโรคธาลัสซีเมีย 6. ครอบครัวที่มีประวัติเคยคลอดบุตรที่มีโครโมโซมผิดปกติ