เเนวคิดด้านโภชนาการเเละการประเมินภาวะโภชนาการ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เเนวคิดด้านโภชนาการเเละการประเมินภาวะโภชนาการ by Mind Map: เเนวคิดด้านโภชนาการเเละการประเมินภาวะโภชนาการ

1. อาหารเพื่อสุขภาพ

1.1. Functional Food

1.1.1. อาหารที่มีสารอาหารประกอบในอาหารทำหน้าที่พิเศษกว่าการให้สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย

1.2. Functional ingredients

1.2.1. สารประกอบในอาหารที่ทำหน้าที่พิเศษ

1.2.1.1. ใยอาหาร

1.2.1.2. นำ้ตาลโอลิโกเเซคคาไรด์

1.2.1.3. ไดเปปไทด์

1.2.1.4. กรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดโอเมก้า

1.2.1.5. สารพฤกษเคมี

1.2.1.6. เกลือเเร่เเละวิตามินต่างๆ

1.2.1.7. โพรไบโอติกส์

1.2.1.8. พรีไบโอติก

1.3. Macrobiotics

1.3.1. การรับประทานอาหารอย่างมีสมดุล

1.3.2. กินอาหารตามฤดูกาล

1.3.3. หลีกเลี่ยงอาหารที่ผ่านกระบวนการปรุง

1.4. อาหารคลีน

1.4.1. อาหารที่ผ่านการปรุงเเต่งน้อยที่สุดเน้นความเป็นธรรมชาติ ได้รับสารอาหารครบถ้วน

1.4.1.1. ผัก

1.4.1.2. ผลไม้สดๆ

1.4.1.3. ธัญพืช

1.4.1.4. อารที่ไม่ผ่านการขัดสี

1.4.1.5. อาหารที่ไม่ปรุงรสจัด

1.5. อาหารชีวจิต

1.5.1. คงสภาพตามธรมมชาติไว้มากที่สุด

1.6. อาหารมังสวิรัติ

1.6.1. กลุ่มกึ่งมังสวิรัต

1.6.1.1. รัปประทานผักมากกว่าเนื้อสัตว์ เเต่ไม่เคร่งครัด

1.6.2. กลุ่มมงสวิรัตที่รับประทานทั้งนมเเละไข่

1.6.3. กลุ่มมังสวิรัติเเท้

1.6.3.1. รับประทานผักเเละผลไม้เท่านั้น

1.7. อาหารคีโต

1.7.1. อาหารทีต้องกิน

1.7.1.1. เนื้อ

1.7.1.2. ผัก

1.7.1.3. ไขมัน

1.7.1.4. ถั่วเมล็ดเดี่ยว

1.7.1.5. ผลไม้

1.7.1.5.1. อะโวกาโด

1.7.1.5.2. มะกอก

1.7.1.5.3. เนื้อมะพร้าว

1.7.1.5.4. มะนาว เลมอน

1.7.1.6. เครื่องดื่ม

1.7.1.7. ผลิตภัณฑ์จากนม

1.7.2. อาหารที่ห้าม

1.7.2.1. อาหารที่มีนำ้ตาลเป็นส่วนประกอบ

1.7.2.2. อาหารประเภทเเป้ง

1.7.2.3. ผลไม้เเทบทุกชนิด

1.7.2.4. พืชหัว

1.7.2.5. ถั่วที่เป็นฝัก

1.7.2.6. ซอสเเละนำ้จิ้ม

1.7.2.7. เครื่องดื่มเเอลกอฮอล์

2. ฉลากโภชนาการ

2.1. สินค้าที่ไม่ต้องติดฉลาก

2.1.1. อาหารที่ผู้ผลิตสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารที่ผลิตเเก่ผู้บริโภคได้

2.1.2. อาหารสดที่ไม่ผ่านกรรมวิธีใดๆ

2.1.3. อาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตเเละจำหน่ายเพื่อบริการภายในร้าน

2.2. ผลิตภัณสุขภาพที่ต้องมีเครื่องหมาย อย.

2.2.1. ผลิตภัณฑ์อาหาร

2.2.1.1. มีตัวเลข 13 หลัก xx-x-xxxxx-x-xxxx

2.2.2. ผลิตภัณฑ์เครื่องมือเเพทย์ที่ต้องมีใบอนุญาต

2.2.2.1. ผ. ผลิตตามด้วยตัวเลข xxxx/ปี/พ.ศ

2.2.2.2. น. นำเข้าตามด้วยเลข xxxx/ปี/พ.ศ

2.2.3. ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายทางสาธารณสุข

2.2.3.1. วอส. ตามด้วยเลขxxxx/ปี/พ.ศ.

2.3. อาหารที่ต้องเเสดง ตามเเบบ GDA

2.3.1. อาหารขบเคี้ยว

2.3.2. ช็อกโกเล็ต

2.3.3. ผลิตภัณฑ์ขนมอบ

2.3.4. อาหารกึ่งสำเร็จรูป

2.3.5. อาหารจานเดียวที่ต้องเก็บรักษาในตู้เย็นหรือตู้เเช่ตลอดเวลาจำหน่าย

3. นางสาววาสนา จำปาทอง เลขที่ 76 ชั้นปีที่ 1

4. ชนิดเเละคุณค่าสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย

4.1. อาหารหลัก 5 หมู่

4.1.1. 1 เนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่วเมล็ด

4.1.2. 2 ข้าว เเป้ง นำ้ตาล เผือก มัน

4.1.3. 3 ผัก

4.1.4. 4 ผลไม้

4.1.5. 5 ไขมันเเละนำ้มัน

4.2. สารอาหาร 6 ชนิด

4.2.1. คาร์โบไฮเดรต

4.2.2. โปรตีน

4.2.3. ไขมัน

4.2.4. วิตามิน

4.2.5. เกลือเเร่

4.2.6. นำ้

4.3. อาหารครบมาตรฐานสำหรับคนไทย

4.3.1. อาหารหลัก

4.3.1.1. ข้าว

4.3.1.2. เเป้ง

4.3.1.3. นำ้ตาล

4.3.2. อาหารพวกเนื้อสัตว์

4.3.3. พวกถั่ว

4.3.4. พวกผักต่างๆ

4.3.5. ผลไม้ต่างๆ

4.3.6. ไขมันเเละนำ้มัน

5. การประเมินภาวะโภชนาการ

5.1. ความหมาย

5.1.1. สภาพหรือสภาวะของร่างกายที่เกิดจากการบริโภคอาหารของเเต่ละบุคคล

5.2. ความสำคัญ

5.2.1. ทำให้ทราบข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับชนิด ปริมาณ เเละคุณภาพของอาหาร

5.2.2. ทำให้ทราบนิสัยการบริโภคอาหารของบุคคล

5.2.3. ทำให้ทราบการระบาดของโรคขาดสารอาหาร

5.2.4. เป็นเเนวทางเพื่อใช้ในการให้โภชนศึกษาเเก่บุคคลเเละชุมชน

5.3. ระดับภาวะโภชนาการ

5.3.1. ภาวะโภชนาการปกติ

5.3.2. ภาวะโภชนาการตำ่กว่าเกณฑ์

5.3.3. ภาวะโภชนาการสูงกว่าเกณฑ์

5.4. วิธีการประเมิน

5.4.1. การตรวจอาการทางคลินิก

5.4.1.1. ดูความผิดปกติหรือดูการเปลี่ยนเเปลงของเนื้อเยื่อต่างๆ

5.4.2. การตรวจสารทางชีวเคมีในร่างกาย

5.4.2.1. วิเคราะห์ปริมาณหรือทดสอบหน้าที่ทางชีวภาพของสารอาหารในเลือด ปัสสาวะ อุจาระ

5.4.3. การสำรวจอาหารที่รับประทาน

5.4.3.1. ซักถามเกี่ยวกับอาหาร

5.4.3.2. บันทึกรายการอาหาร

5.4.3.3. ซักประวัติอาหาร

5.4.3.4. ชั่งนำ้หนักอาหาร

5.4.3.5. ความถี่ของการรับประทานอาหาร

5.4.4. การวัดสัดส่วนต่างๆของร่างกาย

5.4.4.1. การวัดส่วนสูง

5.4.4.2. การชั่งนำ้หนัก

5.4.4.3. การวัดเส้นรอบวงอวัยวะต่างๆ

6. สถานการณ์ด้านอาหารเเละโภชนาการ

6.1. ปัญหาภาวะโภชนาการเกิน

6.1.1. บริโภคพลังงาน ไขมัน โซเดียม นำ้ตาลมากเกินไป

6.1.2. ปัจจัย

6.1.2.1. วิถีชีวิตที่เร่งรีบทานอาหารนอกบ้านเเละซื้ออาหารสำเร็จรูป

6.1.2.2. ร้านอาหารจำหน่ายอาหารที่มีพลังงาน ไขมัน นำ้ตาลเเละโซเดียมสูง

6.1.2.3. การตลาดกระตุ้นให้เกิดการซื้ออาหารในปริมาณมาก

6.1.2.4. ค่านิยมในการทานอาหารฟ้าสต์ฟู้ด

6.2. ปัญหาสารตกค้างของสารเคมีในอาหาร

6.2.1. สารกันราในอาหารเเห้ง

6.2.2. สารฟอกขาวในอาหารทะเล

6.2.3. สารเร่งเนื้อเเดงในเนื้อสัตว์

6.2.4. สารกำจัดศัตรูพืชในผัก ผลไม้

6.3. สารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหาร

6.3.1. สารบอเเรกซ์

6.3.2. กรดซาซิลิค

6.3.3. สารกันบูด

6.3.3.1. กรดเบนโซอิก

6.3.3.2. กรดซอร์บิก

6.3.3.3. โปรปิโอนิก

6.3.4. สารฟอกขาว

6.3.5. ฟอร์มาลิน

6.3.6. ยาฆ่าเเมลง