แนวคิดด้านโภชนาการ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แนวคิดด้านโภชนาการ by Mind Map: แนวคิดด้านโภชนาการ

1. การประเมินภาวะโภชนาการ

1.1. ภาวะโภชนาการ หมายถึง สภาพหรือสภาวะชองร่างกายที่เกิดจากการบริโภคอาหารของเเต่ละบุคคลโดยสามารถพิจารณาได้จากน้ำหนักและส่วนสูง

1.1.1. ทำให้ทราบข้องมูลต่างๆกับชนิด ปริมาณและคุณภาพของอาหารและทราบถึงนิสัยการบริโภคอาหารของเเต่ละคน

1.2. -ลักษณะการรับประทานอาหารแต่ละบุคคล

1.3. รูปแบบของการประเมินภาวะโภชนาการ ซึ่งจะทำได้หลายวิธี อาจแบ่งโดยอาศัย

1.3.1. -ผลจากการรับประทานอาหารของเเต่ละบุคคล

1.3.1.1. 1.การตรวจอาการทางคลินิก

1.3.1.1.1. ตรวจร่างกายเพื่อดูความปกติหรือดูการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื้อต่างๆ เช่นผิวหนัง เนื้อเนื้อ ผม ตา ริมฝีปาก เหงือก ฟัน เล็บ ต่อมไทรอยด์

1.3.1.2. 2.การตรวจสารทางชีวเคมีในร่างกาย

1.3.1.2.1. ตรวจวิเคราะห์ปริมาณหรือทดสอบหน้าที่ทางชีวภาพของสารอาหารในเลือด ปัสสาวะหรืออุจาระ แล้วนำไปเปรียบเทียบค่า

1.3.1.3. 3.การสำรวจอาหารที่รับประทาน

1.3.1.3.1. เป็นการศึกษาถึงปริมาณของสารอาหารชนิดต่างๆที่ร่างการบริโภค เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานจะบ่งบอกได้ว่าร่างกายได้รับสารอาหารทั้งปริมาณและคุณภาพไปตามเกณฑ์หรือไม่

1.3.1.4. 4.การวัดสัดส่วนต่างๆของร่างกาย

1.3.1.4.1. การวัดส่วนสูง การชั่งน้ำหนัก การวัดเส้นรอบวงอวัยวะต่างๆของร่างกาย เช่น เส้นรอบศีรษะ เส้นรอบเเขน เส้นรอบขา รอบเอว รอบสะโพก

1.4. ระดับโภชนาการ

1.4.1. -ภาวะโภชนาการปกติ

1.4.2. -ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

1.4.3. -ภาวะโภชนาการสูงกว่าเกณฑ์

2. สถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการ

2.1. โรคกับโภชนาการ ในอดีดมีปัญหาใหญที่พบทั้งโลก คือโรคขาดสารอาหารเพราะความสามารถในการผลิตอาหารในขณะนั้นมีจำกัดแต่ปัจจับันปัญหาภาวะโภชนาการเกินเข้ามาเเทนที่

2.2. ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะโภชนาการเกิน

2.2.1. วิถีที่เร่งรีบในปัจจับันทำให้เกิดการทานอาหารนอกบ้านเเละซื้ออาหาร

2.2.2. ร้านอาหารส่วนมากจำหน่ายอาหารที่มีพลังงาน ไขมัน น้ำตาลและโซเดียมสููง

2.2.3. วัฒนธรรมและค่านิยมการกินอาหารฟ้าสต์ฟู้ด

2.3. สารบอแรกซ์ ใช้ผสมอาหารเพื่อให้ความเหนียวหรือกรอบ

2.3.1. ลูกชิ้น

2.3.2. หมูบด

2.3.3. ทอดมัน

2.3.4. ทับทิมกรอบ ลอดช่อง ผัก ผลไม้ดอง

2.3.5. สัญญาณบอกอันตรายรับสารบอแรกซ์ปริมาณสูง

2.3.5.1. คลื่นำไส้อาเจียน

2.3.5.2. ปวดศีรษะ

2.3.5.3. อุจจาระร่วง

2.3.5.4. อาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต

2.4. สารกันรา เป็นสารที่ห้ามใช้ในอาหาร แต่มีการนำสารชนิดนี้ใส่ในน้ำดองผักเพื่อให้ดูสดใหม่อยู่เสมอ

2.4.1. เเหนม หมูยอ

2.4.2. ผักและผลไม้ดอง มะม่วงดอง มะกอกดอง มะดันดอง ขิงดอง ไซโป้

2.4.3. เมื่อได้รับสารกันรา ทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้ เป็นผื่นคัน ทำให้อาเจียน หูอื้อ เป็นไข้ อาจถึงตายได้

2.5. สารกัดบูด ไม่สามารถสังเกตได้ว่าอาหารนั้นใส่หรือไม่ มักพบในเส้นก๋วยเตี๋ยว ลูกชิ้น หมูบด น้ำอัดผม ไส้กรอก

2.5.1. อันตราย พิษเฉียบพลันถ้าได้รับในปริมาณมากอจทำให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ

2.6. สารฟอกสาร โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ นิยมนำมาใส่ ถั่วงอก วุ้นเส้น ขนมจีน เห็ด

2.6.1. อันตรายขสกการสารพิษปนเปื้อน ทำให้กระเพาะอักเสบ อักเสบในช่องปาก

2.7. ฟอร์มาลิน ถูกนำมาใช้แช่ผัก เเละอาหารทะเลสดเพื่อให้อาหารอยู่ได้นา ไม่เน่า

2.7.1. ฟอร์มาลินพิษสะสมมะเร็ง

2.8. สารตกค้างยาฆ่าแมลง

2.8.1. วิธีล้างผักผลไม้ให้สะอาดปลอดภัย

2.8.2. 1.ปล่อยน้ำไหลผ่านประมาณ2นาที

2.8.3. 2.แช่ในเกลือเเกง

2.8.4. 3.แช่ในน้ำที่ผสมน้ำส้มสายชู

2.9. สารเร่งเนื้อแดง คนส่วนใหญ่นิยมบริโภคหมูเนื้อแดง จึงทำให้ฟาร์มหมูต้องผลิตเนื้อหมูที่มีลักษณะสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค

2.9.1. อันตรายต่อผู้บริโภค ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ นอนไม่หลับ มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน เป็นลมมีโอกาสเกิดมะเร็งจากสารคมีที่สะสมในร่างกาย

3. โภชนาการ Nutrition

3.1. องค์ประกอบของสุขภาพที่ดี

3.1.1. มิติทางจิต

3.1.2. มิติอารมณ์

3.1.3. มิติทางใจ

3.1.4. มิติกาย

3.1.5. มิติสังคม

3.2. อาหารที่ดีคือ :อาหารที่เมื่อบริโภคเข้าไปจะเป็นพลังงานเเละสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย จะมี5หมู่

3.2.1. ได้แก่ เนื้อสัตบ์ แป้ง ผลไม้ และไขมัน

3.3. อาหารครบมาตรฐาน คือ อาหารที่ประกอบด้วยสารอาหารที่จำเป็นแก่ร่างกายครบทุกชนิด มีหน้าที่3ประการหลักๆ

3.3.1. 1.ให้พลังงานและความร้อนแก่ร่างกาย ได้แก่คาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีน

3.3.2. 2.เสริมสร้างความเจริญเติบโต

3.3.3. 3.ควบคุมกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในร่างกาย

3.4. สารอาหารคือ: สารที่เป็นส่วนประกอบอยู่ในอาหาร ที่รับประทาานแล้วนำไปใชในการดำรงชีวิต

3.4.1. 1.คาร์โบไอเดรต

3.4.1.1. ข้าว ขนมปัง เผือกมัน น้ำตาล

3.4.2. 2.โปรตีน

3.4.2.1. เนื้อสัตว์ ถั่ว นม ไข่

3.4.3. 3.ไขมัน

3.4.3.1. เนย น้ำมันต่างๆ

3.4.3.1.1. กรดไขมันอิ่มตัว เช่น เนื้อสัตว์ นม เนย ไข่

3.4.3.1.2. กรดไขมันไม่อิ่มตัว เช่น น้ำมันที่ได้จากพืช ได้แก่มะกอก ถั่วเหลือ รำข้าว

3.4.3.1.3. ไขมันชนิดทรานส์ เช่นMargarine

3.4.4. 4.วิตามิน

3.4.4.1. จะพบมากในผักและผลไม้

3.4.5. 5.เกลือเเร่

3.4.5.1. จะเจอในผักผลไม้ ช่วยควบคุมสมดุลน้ำและการทำงานของเซลล์ประสาท

3.4.6. 6.น้ำ

3.5. อาหารครบมาตรฐานสำหรับคนไทย ซึ่งต้องการเเรงงานโดยเฉลี่ย วันละ2000 แคลอรี่ ได้แก่

3.5.1. 1.อาหารหลักได้แก่ ข้าว แป้งและน้ำตาล ควรรับประทานร้อยละ45

3.5.2. 2.อาหารพวกเนื้อสัตว์ ได้แก่ สัตว์ทุกประเภทรวมทั้งไข่ ร้อยละ10-15

3.5.3. 3.พวกถั่ว ควรได้รับร้อยละ12

3.5.4. 4.พวกผักต่างๆ ควรได้รับร้อยละ5

3.5.5. 5.ผลไม้ต่างๆ ควรได้รับร้อยละ5

3.5.6. 6.ไขมันและน้ำมัน ควรได้รับร้อยละ10

4. ฉลากโภชนาการ

4.1. สินค้าที่ไม่ต้องติดฉลาก

4.1.1. 1.อาหารที่ผู้ผลิตสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารที่ผลิตแก่ผู้บริโภคได้ขณะนั้น เช่นตลาดสด

4.1.2. 2.อาหารสดที่ไม่ผ่านกรรมวิธีใดๆ เช่น หมู ไก่ ปลา

4.1.3. 3.อาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตและจำหน่ายเพื่อบริการภายในร้าน

4.2. อาหารที่กำหนดให้แสดง GDA

4.2.1. 1.อาหารขบเคี้ยว

4.2.2. 2.ช็อคโกแลตและผลิตภัณฑ์ในทำนองเดียวกัน

4.2.3. 3.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ

4.2.4. 4.อาหารกึ่งสำเร็จรูป

4.2.5. 5.อาหารจานเดียวที่ต้องเก็บรักษาไว้ในตู้เย็นหรือตู้แช่เเข็งตลอดระยะเวลา

5. อาหารเพื่อสุขภาพ

5.1. อาหาร Fundtional food คือ อาหารที่มีสารประกอบในอาหารทำหน้าที่พิเศษกว่าการให้สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย

5.1.1. 1.ใยอาหาร

5.1.2. 2.น้ำตาลโอลิแซกคาไรด์

5.1.3. 3.ไดเปปไทด์

5.1.4. 4.กรดไขมันไม่อิ่มตัวในกลุ่มโอเมก้า3

5.1.5. 5.สารพฤกษเคมี

5.1.6. 6.เกลือแร่และวิตามินต่างๆ

5.1.7. 7.ไพรไบโอติกส์

5.1.8. 8.พรีไบโอติก

5.2. MACROBIOTIC DIET คือการรับประทานอาหารอย่างสมดุล กินอาหารตามฤดูกาลและหลีกเลี่ยงอาหารที่ผ่านกระบวนการปรุง

5.3. Vegation food คืออาหารมังสวิรัติ อาหารที่ไม่มีเนื้อสัตว์เป็นองค์ประกอบแบ่งได้3ประเภท

5.3.1. 1.กลุ่มกึ่งมังสวิรัติ รับประทานผักผลไม้แต่ไม่ทานเนื้อสัตว์

5.3.2. 2.กลุ่มมังสวิรัติ ที่รับประทานนมและไข่

5.3.3. 3.กลุ่มมังสวิรัติแท้ รับประทานผักและผลไม้เท่านั้น

5.4. Ketogenic diet คือการเลี่ยงแป้งและน้ำตาลอย่างเด็ดขาดเพื่อต้องการกดการหลั่งสานอินซูลินให้ต่ำที่สุดเพื่อให้ร่างกายอยู่ในสภาวะคีโตสิสที่ใช้ไขมันเป็นพลังงาน

6. นางสาวอรอุมา เยาว์นุ่น เลขที่97 รหัสนักศึกษา 622601097