การกำหนดตัวแปรและสมมติฐานในการวิจัย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การกำหนดตัวแปรและสมมติฐานในการวิจัย by Mind Map: การกำหนดตัวแปรและสมมติฐานในการวิจัย

1. ตัวแปรตามลักษณะการรับรู้ ตัวแปรตามค่าของการวัด ตัวแปรตามแหล่งที่มาของ การวัด ตัวแปรตามบทบาทหน้าที่

2. ตัวแปร หมายถึง คุณลักษณะ (Trait หรือ Characteristic) หรือคุณสมบัติ (Property) ของสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ผู้วิจัยสนใจจะศึกษา

3. ผู้วิจัยต้องคำนึงถึงลักษณะ สำคัญต่อไปนี้ (1) ตรงความสนใจ อยากรู้ (2) มีคุณค่า เป็นประโยชน์ต่อสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีลักษณะริเริ่ม (3)ตัวแปรที่กำหนดต้องนิยามได้ มีขอบเขตที่ชัดเจนและเหมาะสม (4)ต้องวัดหรือหาค่าคุณลักษณะของตัวแปรนั้นได้ (5)มีความเป็นไปได้ที่จะศึกษา เหมาะสมกับเวลาและทุน

4. การใช้คำอธิบายที่มีการนำแนวคิดต่างๆมารวมกันและ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดหลาย ๆ แนวคิด

5. ระดับการวัดของตัวแปรในการวิจัย

5.1. นามบัญญัติ

5.2. เรียงลำดับ

5.3. อันตรภาค

5.4. อัตราส่วน

6. การให้คำนิยามในลักษณะของแนวคิด (conceptual definition)

7. การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ

7.1. ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2 (Type II error, error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเมื่อสมมติฐานหลักซึ่งเป็นเท็จไม่ถูกปฏิเสธความคลาดเคลื่อนประเภทนี้

7.2. ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2 (Type II error, error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเมื่อสมมติฐานหลักซึ่งเป็นเท็จไม่ถูกปฏิเสธ

8. การกำหนดสมมติฐาน

8.1. สมมติฐาน (Hypothesis) คือ ข้อสมมติ ข้อความเฉพาะที่ผู้วิจัยคาดคะเนคำตอบ ไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล หรือข้อค้นพบในเรื่องที่ทำการศึกษาวิจัย โดยคำตอบที่คาดคิดไว้ล่วงหน้านี้อาจเกิดจากทฤษฎีที่เกี่ยวข้องหือจากประสบการณ์ส่วนตัวของผู้วิจัยเอง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการค้นคว้า

9. ความสำคัญของสมมติฐาน

9.1. ทำให้ปัญหาในการวิจัยชัดเจนขึ้น

9.2. สามารถเลือกข้อมูลและข้อเท็จจริงที่จะนำมาวิจัยได้อย่างถูกต้อง

9.3. ช่วยให้ผู้วิจัยหาเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง และมีคุณภาพ

9.4. ประหยัดเวลาและแรงงาน

10. ประเภทของสมมติฐาน

10.1. กำหนดค่าแน่นอนตายตัวเพียงค่าเดียว

10.2. ไม่ได้กำหนดค่าแน่นอนตายตัว

11. แนวทางปฏิบัติแล้วการตั้งสมมติฐาน มีอยู่ 2 แบบ

11.1. เป็นข้อความที่แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา

11.2. ข้อความที่สมมติขึ้นเพื่อทดสอบว่าสมมติฐานที่ผู้วิจัยตั้งไว้เป็นจริงหรือไม่ ซึ่งจะอธิบายข้อเท็จจริงในรูปทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับค่าพารามิเตอร์ของประชากร

12. การตั้งสมมติฐานการวิจัย

12.1. ถ้าสมมติฐานที่ต้องการทดสอบแสดงถึงความไม่แตกต่างก็จะเป็นสมมติฐานหลัก อีกสมมติฐานหนึ่งก็จะเป็นสมมติฐานรอง หรือหากสมมติฐานที่ต้องการทดสอบเป็นสมมติฐานรอง ซึ่งบ่งบอกถึงความไม่เท่ากัน น้อยกว่าหรือมากกว่า อีกสมมติฐานหนึ่งก็จะเป็นสมมติฐานหลัก

13. การทดสอบสมมติฐานการวิจัย

13.1. เขียนอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าและเกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัย

13.2. เขียนหลังจากได้ศึกษา เอกสาร งานวิจัยมากเพียงพอ

13.3. เลือกใช้คำหรือข้อความที่รัดกุม ไม่ฟุ่มเฟือย ประโยคสั้นๆ อ่านเข้าใจง่าย

13.4. มีสมมติฐานให้ครอบคลุม สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย

13.5. สมมติฐานแต่ละข้อเขียนเพื่อตอบ คำถามเพียงคำถามเดียวไม่ควรเขียนปัญหาวิจัยหลายๆประเด็น ในสมมติฐานข้อเดียวกัน

13.6. ระบุทิศทางความสัมพันธ์ให้ชัดเจน

13.7. ทดสอบได้