Get Started. It's Free
or sign up with your email address
โรคติดต่อ by Mind Map: โรคติดต่อ

1. โรคไข้หวัดใหญ่

1.1. สาเหตุ

1.1.1. ติดเชื้อ Influensa virus มี RNA 3 ชนิด ชนิด A,B,C A แหล่งเชื้อโรค

1.1.2. Seasonal influensa เกิดขึ้นประจำทุกปี ติดจากคนสู่คน

1.1.3. ระยะฟักตัวของโรค 1- 4 วัน หลังรับเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่

1.2. อาการ

1.2.1. ไข้

1.2.2. ไอ

1.2.3. เจ็บคอ

1.2.4. มีน้ำมูก

1.2.5. ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ

1.2.6. เหนื่อย อ่อนแรง

1.3. การแพร่กระจาย

1.3.1. การกระจายสู่คนทางละอองฝอย

1.3.2. สัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ ที่ปนเปื้อน เช่นน้ำมูกและน้ำลายและเสมหะของผู้ป่วย

1.4. ภาวะแทรกซ้อน

1.4.1. ระบบทางเดินหายใจ - Ottitis media Pneumonia

1.4.2. ระบบหัวใจ Myocarditis,Pericarditis

1.4.3. ระบบประสาท -Encephalitis - Guillain Barre Syndrom

1.5. การวินิจฉัย

1.5.1. ตรวจสารคัดหลั่งภายใน 72 ชั่วโมง

1.5.2. การตรวจหา RNA ของ Virus ด้วย RT-PCR (Reverse transcriptase –polymerase chain reaction)

1.5.3. การตรวจน้ำเหลืองหา Antibody โดยเจาะห่าง 2 สัปดาห์ Antibody จะเพิ่มขึ้น 4 เท่า

1.5.4. ตรวจหาแอนติเจน DIA, IFA

1.6. การรักษา

1.6.1. ให้ยาต้าน Antiviral teatment - ให้ภายใน 48 ชั่วโมงแรกของอาการป่วย - ให้ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง

1.6.2. ยาต้านมี 2 กลุ่ม กลุ่ม 1 amantadine และ Rimantadin ยับยั้งการแบ่งตัวของ cell กลุ่ม 2 Neuraminidase inhibitor - Oseltamivia (Tamiflu) ผลข้างเคียง คลื่นไส้อาเจียน - Zanamivia (Relenza) พ่นทางปาก ผลข้างเคียง หลอดลมตีบ

1.7. การพยาบาล

1.7.1. พักผ่อนมากๆ อากาศถ่ายเทสะดวก

1.7.2. ลดไข้ผู้ป่วย

1.7.3. การล้างมือ กินอาหารที่มีประโยชน์และย่อยง่าย ควรดื่มน้ำมากๆ

1.7.4. ปฏิบัติตามคำแนะนำแพทย์

2. เชื้อไข้หวัดนก (Avian influenza)

2.1. ระยะฟักตัวในคนสั้น ประมาณ 1 ถึง 3 วัน

2.2. อาการ

2.2.1. มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้ออ่อนเพลียมีน้ำมูกไอและเจ็บคอบางครั้งพบว่ามีอาการตาแดง

2.3. การวินิจฉัยไข้หวัดนก

2.3.1. มีไข้มากกว่า 38 องศา

2.3.2. มีอาการทางเดินระบบหายใจ เช่น ไอ เจ็บคอ หายใจหอบ

2.3.3. ประวัติสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค หรือสัมผัสกับคนป่วยภายใน 10 วันก่อนเกิดอาการ

2.3.4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

2.3.5. การเพาะเชื้อไวรัสจากสารคัดหลั่ง เช่นเสมหะ น้ำมูก

2.3.6. การตรวจสารคัดหลั่งด้วยวิธี PCR influenza type A ให้ผลบวก

2.4. วิธีป้องกันการระบาด

2.4.1. ต้องกำจัดแหล่งแพร่เชื้ออย่างรีบด่วน

2.4.2. ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่เพื่อไม่ให้เชื้อกลายพันธุ์

2.4.3. คนที่สัมผัสไก่ที่เป็นโรคและมีไข้ต้องกินยาต้านไวรัส

2.4.4. ผู้ที่ทำลายไก่ต้องสวมชุดเพื่อป้องกันการรับเชื้อ

2.5. การป้องกันเชื้อใน รพ.

2.5.1. ๅ. ให้ผู้ป่วยนอนห้องแยก 2. หากต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้องต้องสวมหน้ากากอนามัยทุกครั้ง 3. ห้ามแพทย์หรือญาติที่เป็นหวัด เยี่ยมผู้ป่วย 4. หากจะเข้าใกล้ผู้ป่วยน้อยกว่า 3 ฟุตต้องสวมหน้ากากอนามัยทุกครั้ง 5. ผู้ที่จะเข้าไปดูแลผู้ป่วยต้องสวมถุงมือ เสื้อคลุมทุกครั้ง และถอดออกเมื่อออกนอกห้อง 6. ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วยทุกครั้ง

3. โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง ( Severe Acute Respiratory Syndrome :SARS)

3.1. สาเหตุ

3.1.1. เกิดจาก เชื้อไวรัสโคโรนา coronavirus (SARS-CoV)

3.2. ระยะฟักตัวของโรค

3.2.1. 2-7 วัน

3.3. การติดต่อ

3.3.1. น้ำลาย น้ำมูก

3.4. อาการ

3.4.1. ไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส

3.4.2. ปวดเมื่อยตามร่างกาย

3.4.3. ปวดศีรษะมาก

3.4.4. หนาวสั่น

3.4.5. อาการเจ็บคอ ไอแห้ง ๆ

3.4.6. ปอดบวมอักเสบ อาการหายใจลำบาก

3.5. การรักษา/การดูแล

3.5.1. การให้ยาต้านไวรัส

3.5.2. การให้ยาปฏิชีวนะ กรณีมีปอดอักเสบ

3.5.3. การรักษาตามอาการ ให้ supplemental oxygen therapyโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ SpO2 < ร้อยละ 90 เริ่มโดย การจากให้อ็อกซิเจน 5 ลิตรต่อนาที และปรับขนาดตามอาการของผปู้ ่วย จนระดับ SpO2 ≥ ร้อยละ 90

4. Hepatitis

4.1. พยาธิสภาพของ Viral Hepatitis

4.1.1. 1. Prodomal Stage : 3 – 7 วัน ก่อนตาเหลือง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตัว อ่อนเพลีย มีไข้ต่ำๆ อาจมีปวดท้องใต้ชายโครงขวา

4.1.2. 2. Icteric Stage : ระยะตา ตัวเหลือง นาน 1 – 4 สัปดาห์ ตาเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม อาจพบม้ามและต่อมน้ำเหลืองโต

4.1.3. 3. Recovery Period : ระยะพักฟื้น ใช้เวลา 3 – 4 เดือน หายเป็นปกติ ใช้เวลา 6 สัปดาห์

4.2. Hepatitis A Virus (HAV)

4.2.1. เกิดจากเชื้อไวรัสชนิด RNA. ติดต่อได้ทาง feacal – oral transmission (การกินอาหารหรือดื่มน้ำไม่สะอาด)

4.2.2. พบเชื้อในอุจจาระได้ 2 สัปดาห์ ก่อนแสดงอาการ และหลังจากตา ตัวเหลือง 1 สัปดาห์

4.2.3. ใช้เวลาฟักตัว 15 – 50 วัน

4.3. Hepatitis B Virus (HBV)

4.3.1. เชื้อไวรัสชนิด DNA. ฟักตัว 6 สัปดาห์ - 6 เดือน

4.3.2. ติดต่อได้ทางเลือด หรือ serum เช่น การฉีดยา การถ่ายเลือด

4.3.3. อาการจะรุนแรงกว่าชนิดอื่นๆ และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น Chronic hepatitis, Cirrhosis, C.A liver ถ้าเป็นนานกว่า 6 เดือน

4.4. Hepatitis C Virus (HCV)

4.4.1. NAnB เชื้อที่เป็นสาเหตุไม่ทราบแน่ชัด

4.4.2. ตรวจ serum ไม่พบ Anti HAV และ HBs Ag มีโอกาสเกิด Chronic Hepatitis และ cirrhosis

4.4.3. ติดต่อได้ทั้งการรับประทานอาหารทางเลือด และ serum

4.5. การพยาาล

4.5.1. สังเกตอาการไข้ อาการตา ตัวเหลือง อาการที่แสดงภาวะตับวาย เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป

4.5.2. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อน

4.5.3. ดูแลการได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง หลีกเลี่ยงไขมัน

4.5.4. บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน โดยจัดสิ่งแวดล้อมและอาหารที่ไม่กระตุ้นความรู้สึกอยากอาเจียน

4.5.5. การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอิเลคโตรไลท์ทางหลอดเลือดตามแผนการรักษา

4.5.6. ติดตามผลการระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อโดยเฉพาะทางเลือด

4.5.7. การให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ

5. โรคอีโล่า

5.1. การแพร่กระจายเชื้อ

5.1.1. การสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำร่างกายจากผู้ติดเชื้อโดยตรง

5.1.2. การสัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน

5.2. พยาธิสภาพ

5.2.1. หลังติดเชื้อ จะมีการสร้างไกลโคโปรตีนที่หลั่งออกมา (secreted glycoprotein, sGP)

5.2.2. sGP ก่อโปรตีนไดเมอร์ (dimer) รบกวน neutrophil ไวรัสแพร่กระจายปุ่มน้ำเหลือง ตับ ปอดและม้าม

5.2.3. เกิดการปล่อยไซโทไคน์

5.2.4. การเสียความแข็งแรงของหลอดเลือดนี้ยังส่งเสริมด้วยการสังเคราะห์ GP

5.3. อาการ

5.3.1. ตาแดง ไข้ ตกเลือดมาก

5.3.2. เบื่ออาหาร

5.3.3. เจ็บคอ หายใจลำาก

5.3.4. มีผื่น

5.4. การรักษา

5.4.1. รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโทรไลต์เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ

5.4.2. การให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม

5.5. ภาวะแทรกซ้อน

5.5.1. หลายอวัยวะล้มเหลว

5.5.2. เลือดออกรุนแรง

5.5.3. ดีซ่าน

5.5.4. สับสน ชัก โคม่าหมดสติ ช็อค

5.6. การป้องกัน

5.6.1. กำจัดไวรัสอีโบลาได้ด้วยความร้อน (ให้ความร้อน 60 °C เป็นเวลา 30 ถึง 60 นาที หรือต้มเป็นเวลา 5 นาที

5.6.2. แยกผู้ป่วย และการสวมเสื้อผ้าป้องกัน ได้แก่ หน้ากาก ถุงมือ กาวน์และแว่นตา

5.6.3. ไม่สัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งที่ติดเชื้อ