สารชีวโมเลกุล (Bio-molecules)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สารชีวโมเลกุล (Bio-molecules) by Mind Map: สารชีวโมเลกุล (Bio-molecules)

1. โปรตีน ( Protein )

1.1. กรดอะมิโน ต่อ กันเป็นโซ่ด้วยพันธะเพปไตด์ (Peptide )

1.2. โครงสร้างของโปรตีน

1.2.1. โปรตีนก้อนกลม ( Globular Proteins )

1.2.2. โปรตีนเส้นใย ( Fibrous Proteins )

1.2.3. โครงสร้างปฐมภูมิ (primary sturcture)

1.2.4. โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure)

1.2.5. โครงสร้างลำดับที่สาม (tertiarystructure)

1.2.6. โครงสร้างลำดับที่สี่ (quaternarystructure)

1.3. สมบัติของโปรตีน

1.3.1. ไม่ละลายน้ำ

1.3.2. โปรตีนมีมวล โมเลกุลสูงมาก

1.3.3. ของแข็ง

1.4. การทดสอบโปรตีน

1.4.1. ปฏิกิริยาไบยูเรต (Biuret reaction)

1.4.1.1. สีน้ำเงินม่วง

2. กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)

2.1. เก็บข้อมูลทางพันธุกรรม

2.2. 2 ชนิด

2.2.1. Ribonucleic acid (RNA)

2.2.2. Deoxyribonucleic acid (DNA)

2.2.2.1. หมู่ฟอสเฟต

2.2.2.2. น้ำตาลเพนโทส

2.2.2.3. เบสที่มีไนโตรเจนเป็นโมเลกุล

3. เป็นสารที่ สิ่งมีชีวิตใช้ในการดำรงชีวิต ซึ่งจำแนกได้เป็น 5 ประเภท คือ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) ไขมัน (Lipid) โปรตีน(Protein) กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid) วิตามินต่างๆ (Vitamin)

4. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)

4.1. ประกอบด้วย C,H,O

4.2. โมโนเเซ็กคาไรด์ (monosaccharide)

4.2.1. c 3-8 อะตอม

4.3. ไดแซ็กคาไรด์ (Disaccharide)

4.3.1. โมโนแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุล

4.4. โพลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide)

4.4.1. โมโนแซ็กคาไรด์หลายๆโมเลกุล

4.5. การทดสอบมี 2 วิธี

4.5.1. การทดสอบแป้ง จะใช้สารละลายไอโอดีนหยดลงบนอาหารที่ต้องการทดสอบ ถ้าอาหารที่ทดสอบมีแป้งเป็นส่วนประกอบจะเปลี่ยนสีของสารละลายไอโอดีนจากสีน้ำตาลเป็นสีม่วงเข้มเกือบดำ หรือม่วงแกมน้ำเงิน

4.5.2. การทดสอบน้ำตาล จะใช้สารละลายเบเนดิกต์หยดลงไปในอาหาร แล้วนำไปต้มในน้ำเดือด ถ้าเกิดตะกอนสีส้ม สีเหลือง หรือสีอิฐ แสดงว่าอาหารนั้นมีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ

5. ไขมัน (Lipid)

5.1. ประกอบด้วย C, H และ O แต่อาจมี N และ P

5.2. กรดไขมัน (fatty acid)

5.2.1. กรดไขมันอิ่มตัว(Saturated fatty acid) เช่น กรดปาล์มิติก มีสูตรเป็น CH3(CH2)14COOH

5.2.2. กรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว (Unsaturated fatty acid) เช่น กรดโอเลอิก มีสูตรเป็น CH3(CH2)7-CH=CH-(CH2)7-COOH

5.3. ไขมันอย่างง่าย (Simple Lipid) คือ ไขมันที่เป็นเอสเทอร์ของ กรดไขมันกับกลีเซอรอล

5.4. ไขมันเชิงประกอบ (Compound Lipid) คือ ไขมันอย่างง่ายที่มี องค์ประกอบอย่างอื่นด้วย เช่น ฟอสฟอลิปิด

5.5. อนุพันธ์ลิปิด(Derived lipid) คือสารที่เป็นผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของไขมันทั้ง สองประเภทที่กล่าวมา ไม่ได้เป็นเอสเทอร์ของกรดไขมันกับ กลีเซอรอล และไม่เกิดปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชันกับ เบส เช่น สเตอรอยด์

5.6. การทดสอบ Lipid

5.6.1. นำตัวอย่างไปถูกับกระดาษแล้วกระดาษจะโปร่งแสง