พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร by Mind Map: พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร

1. คอหอย (Pharynx)

1.1. กลไกและอาการ

1.2. การกลืนบกพร่อง/กลืนลำบาก (Dysphagia)

1.2.1. ความรู้สึกกว่าถูกขัดขวางขณะกลืนอาหาร

1.2.2. สาเหตุ

1.2.2.1. Mechanism

1.2.2.1.1. ลดปริมาณน้ำลาย

1.2.2.1.2. ตีบ อุดกั้น กดเบียน

1.2.2.2. Motor

1.2.2.2.1. หมดสติ ยาสลบ

1.2.2.2.2. การทำลาย/ เสื่อม ของเส้นประสาทคู่ 5,6,7 และ 10 และก้านสมองส่วนศูนย์การกลืน

1.2.2.2.3. กล้ามเนื้ออ่อนแรง

1.2.2.2.4. กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง

1.2.3. กลไกและอาการ

1.2.3.1. ลดแรงในการกลืนลำบากในช่อง Oropharynx

1.2.3.1.1. ไม่มีแรงดันอาหารเข้าหลอดลม=กลืนไม่ได้

1.2.3.2. เพดานอ่อน/ลิ้นไก่ ปิด Nasopharynx ไม่สนิท

1.2.3.2.1. อาหารเข้าสู่หลอดลมและออกทางจมูก

1.2.3.2.2. อาหารเข้าสู่หลอดอาหารและหลอดลมเกิดอาการสำลัก

1.2.3.3. ฝาปิดกล่องเสียง(Epiglottis)ปิดกล่องเสียงไม่สนิท

1.2.3.3.1. กลืนเจ็บ ต่อมน้ำเหลืองโต หูดับ จากอุดตัน Eustachian tube

2. หลอดอหาร (Esophagus)

2.1. หลอดอาหารเคลื่อนไหวผิดปกติ

2.1.1. โรคผิวหนัง (Sclerodama

2.1.1.1. ความหมาย

2.1.1.1.1. กล้ามเนื้อบริเวณหลอดอาหารส่วนปลาย และหูรูดปลาย หลอดอาหาร (Lower esophageal sphincter:LES) มีลักษณะแข็งกระด้าง ไม่ยืดหยุ่น

2.1.1.2. สาเหตุ

2.1.1.2.1. หลอดอาหารส่วนปลายแข็ง กระด้าง ไม่ยืดหยุ่น

2.1.1.3. กลไก

2.1.1.3.1. Lower esophageal sphincter:LES แข็งกระด้าง ไม่ยืดหยุด

2.1.1.4. อาการ

2.1.1.4.1. แสบร้อน/เจ็บหน้าอก

2.1.1.4.2. กลืนลำบาก

2.1.1.4.3. ปวดขณะกลืน

2.1.2. หูรูดไม่คลายตัว(achalasia

2.1.2.1. กลไกและอาการ

2.1.2.1.1. มะเร็งหลอดอาหารชนิด squamous cell

2.1.2.1.2. การติดเชื้อเกิดแผลเรื้อรังหลอดอาหารแตกและเสียชีวิต

2.1.2.1.3. สำลักเข้าหลอดลม ปวดอักเสบได้

2.1.2.1.4. ไอ/อาเจียน โดยไม่มีอาการคลื่นไส้ มักเป็นเมื่อนอนลง

2.1.2.1.5. หูรูดส่วนปลายหลอดอาหารไม่คลายตัว

2.1.2.1.6. อาหารผ่านเข้าสู่กระเพาะยาก/ผ่านไม่ได้

2.1.2.1.7. หลอดอาหารขยายใหญ่ขึ้น

2.1.2.1.8. การสะสมอาหารในหลอดอาหาร

2.1.2.2. สาเหตุ

2.1.2.2.1. ความผิดปกติของกลุ่มเซลล์ประสาทในผนังหลอดอาหารส่วนล่าง

2.1.2.3. ความหมาย

2.1.2.3.1. ความผิดปกติของกลุ่มเซลล์ประสาทในผนังหลอดอาหารส่วนล่าง

2.2. หลอดอาหารตีบ(Esophageal Atresia:EA)

2.2.1. กลไกและอาการ

2.2.1.1. สำลัก ไอ เขียว หยุดหายใจ เพราะน้ำลายเข้าสู่หลอดลม

2.2.1.2. สำลัก ไอ เขียว หยุดหายใจ เพราะน้ำลายเข้าสู่

2.2.1.3. น้ำลายมาก (Hypersalivation) ทำให้น้ำลายเข้าสู่กระเพาะไม่ได้/ลดลง

2.2.1.4. ท้องป่องเพราะอากาศเข้าสู่กระเพาะ

2.2.2. ภาวะแทรกซ้อน

2.2.2.1. หายใจลำบาก

2.2.2.2. ปอดอักเสบ

2.2.2.3. การติดเชื้อการหายใจ

2.2.2.4. ภาวะเลี้ยงไม่โต

3. กระเพาะอาหาร(Stomach)

3.1. กระเพาะอาหารอักเสบ

3.1.1. อาหาร:ปวดท้อง อึดอัดแน่นท้อง อาเจียนเป็นเลือด

3.1.2. ภาวะอักเสบที่ gastric mucosa

3.1.3. ประเภท

3.1.3.1. chronic gastritis

3.1.3.1.1. มีภาวะเสียเลือดเรื้อรังจากการอักเสบ เกิด iron deficiency

3.1.3.1.2. Type

3.1.3.2. Acute hemorrhagic gastrithis

3.1.3.2.1. สาเหตุ คือ ยา aspirin และ NSAID (ยับยั้งการสร้าง PGE จึงลดการสร้าง mucous barrier และลดเลือดเลี้ยงเชื้อในการหายใจ

3.2. hiatal hernia

3.2.1. กระเพาะอาหารส่วน fundus เยี่ยมช่องอกทรวงอก

3.2.2. ประเภท

3.2.2.1. Sliding hiatal hernia

3.2.2.1.1. รอยต่อระหว่างกระเพาะอาหารกับหลอดอาหารถูกดันขึ้นเหนือกระบังลม

3.2.2.2. Paraesophageal hiatal hernia

3.2.2.2.1. การดันกระเพาะอาหารขึ้นเหนือกระบังลม

3.2.3. สาเหตุ : เป็น Hernia ที่เกิดจากความบกพร่องของช่อง esophageal hiatus ในกระบังลม

3.2.4. กลไกและอาการ

3.2.4.1. หลอดอาหารสั้นลง

3.2.4.2. การกลืนผิดปกติ

3.2.4.3. การระคายเคือง

3.2.4.4. เพิ่มแรงดัน เกิด reflex จากกระเพาะ

3.3. การสร้างและหลั่งน้ำย่อยผิดปกติ

3.3.1. เกิดแผล

3.3.1.1. แผลในกระเพาะอาหาร : ภาวะอักเสบที่ submucosa ของกระเพาะอาหาร

3.3.1.2. แผลในลำไส้เล็ก : ภาวะอักเสบที่ submucosa ของลำไส้เล็ก

3.3.2. อาการ : night pain (กลางคืนมีการหลั่งกรดมาก) มักอ้วนขึ้น

3.3.3. สาเหตุ

3.3.3.1. หลั่งกรดมากเกิน

3.3.3.2. Barrier น้อยเกิน

3.3.3.3. ใช้ NSAIDs

3.3.3.4. Duodenal-gasrtric reflex

3.3.3.5. Helicobacter pylori

4. ลำไส้ใหญ่ (Large intestine)

4.1. Inflammatory bowel disease:IBD

4.1.1. ความหมาย

4.1.1.1. การอ้กเสบเรื้อรังของลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่ ซึ่งไม่มีการติดเชื้อ

4.1.2. อาการไข้ ปวดท้อง ท้องเสีย

4.1.3. ประเภท

4.1.3.1. Crohn’s disease

4.1.3.1.1. การอักเสบตำแหน่งที่ไม่ต่อเนื่องกันถึงชั้น serosa พบตั้งแต่ปากถึงทวารหนัก

4.1.3.1.2. ภาวะแทรกซ้อน คือ Pertonitis,Perforate/Fistula

4.1.3.2. Ulcerative colitis

4.1.3.2.1. การอักเสบแบบต่อเนื่องใน colon แค่ชั้น submucosa

4.1.3.2.2. อาการ

4.2. ถ่ายท้อง (Diarrhea)

4.2.1. ความหมาย

4.2.1.1. การถ่ายอุจจาระมากกว่า 3 ครั้งใน 1 วัน หรือถ่ายมูกเลือดเพียงครั้งเดียว

4.2.2. กลไก

4.2.2.1. อุจจาระเคลื่อนผ่านลำไส้ใหญ่อย่างรวดเร็ว เนื่องจาก เพิ่มการเคลื่อนไหวและเพิ่มสารคัดหลั่ง

4.2.3. สาเหตุ

4.2.3.1. แผลในลำไส้ใหญ่ สารเคมี การติดเชื้อในลำไส้

4.2.3.2. การขาดแลคเตส(Lactase deficiency)

4.2.3.3. ลดการดูดซึม

4.2.3.4. ท้องเสียจากสภาพจิตใจ

4.2.4. ภาวะแทรกซ้อน

4.2.4.1. เสียน้ำและเกลือแร่

4.3. ท้องผูก (constipation)

4.3.1. ความหมาย

4.3.1.1. ภาวะที่อุจจาระเคลื่อกที่ผ่านลำไส้ช้ากว่า 3 วันและลักษณะอุจจาระแห้งแข็งกว่าปกติ

4.3.2. สาเหตุ

4.3.2.1. การอุดตัน

4.3.2.2. การขาด Ganglionic cell ในผนังลำไส้:ไม่มีการบีบตัว

4.3.2.3. ลำไส้ใหญ่ยาวมากๆ:เพิ่มการดูดน้ำ

4.3.2.4. ความผิดปกติของ Metabolism

4.3.2.5. ลดกากอาหาร

4.3.2.6. การทำลาย/ยับยั้ง reflex การขับถ่าย

4.4. Megacolon

4.4.1. ความหมาย

4.4.1.1. ภาวะที่มีลำไส้ส่วน colon ขนาดใหญ่ เป็นความผิดปกติโดยกำเนิด

4.4.2. สาเหตุและกลไก

4.4.2.1. ผนังลำไส้ใหญ่ไม่มีการเจริญของ ganglion ที่ควบคุมการหดตัวของกล้ามเนื้อผนังลำไส้

4.4.2.2. ลำไส้ใหญ่ไม่บีบตัว

4.4.2.3. ความดันในลำไส้ส่วนบนเพิ่มมากขึ้น อาจดันให้ถ่ายอุจจาระเป็นครั้งคราว

4.4.2.4. การอุดตันลำไส้ใหญ่

4.4.3. อาการ

4.4.3.1. ทารกไม่ถ่าย Meconium=ท้องผูกแต่กำเนิด

4.4.3.2. อาเจียน

4.4.3.3. ขาดน้ำและเกลือแร่ และอาจมีภาวะทุโภชนาการ

4.4.4. ภาวะแทรกซ้อน

4.4.4.1. ลำไส้อักเสบ

4.4.4.2. ลำไส้ทะลุ

4.4.4.3. ช่องท้องอักเสบ

4.5. Imperforated anus

4.5.1. ความหมาย

4.5.1.1. ภาวะไม่มีทวารหนัก เป็นความผิดปกติโดยดกำเนิด

4.5.2. สาเหตุและกลไก

4.5.2.1. Membrane ที่กั้นระหว่างส่วนปลายของลำไส้ และด้านนอกของทวารหนักของตัวอ่อนไม่สลายตัว

4.5.2.2. ไม่มีรูทางทวารหนัก

4.5.2.3. การอุดตันลำไส้ใหญ่ เพิ่มความดันในลำไส้ส่วนบน

4.5.3. อาการ

4.5.3.1. ทารกไม่ถ่าย Meconium=ท้องผูกแต่กำเนิด

4.5.3.2. อาเจียน

4.5.3.3. ขาดน้ำและเกลือแร่ และอาจมีภาวะ Malnutrition

4.5.4. ภาวะแทรกซ้อน

4.5.4.1. ลำไส้อักเสบ

4.5.4.2. ลำไส้ทะลุ

4.5.4.3. ช่องท้องอักเสบ

5. ช่องปาก (Oral cavity)

5.1. ความผิดปกติของช่องปาก

5.1.1. ปัจจัย

5.1.1.1. พันธุกรรม

5.1.1.2. ภาวะแวดล้อม

5.1.2. ปากแหว่ง (Cleft lip):เพดานปากส่วนหน้าไม่เชื่อมกัน

5.1.3. เพดานโหว่ (Cleft palate):เพดานปากส่วนหลังแยกจากกัน

5.1.4. พยาธิสรีรวิทยา

5.1.4.1. มีปัญหาการดูด การกลืน การหายใจ การติดเชื้อที่ปอด และหูชั้นกลาง

5.1.4.2. ความผิดปกติใรการพูด พูดไม่ชัด

5.1.4.3. ความผิดปกติของกรรไกร ฟัน และการบดเคี้ยว

5.1.5. เป็นความพิการแต่กำเนิดที่ต้องช่วยเหลืออย่างรีบด่วน

5.2. บาดแผลในช่องปาก

5.2.1. ประเภท

5.2.1.1. Solitary lesion

5.2.1.2. Aphthous ulcer

5.2.1.3. Chronic ulcer:Cancer

5.2.2. กลไกและอาการ

5.2.2.1. เจ็บ

5.2.2.2. กลืนลำบาก

5.2.2.3. รับประทานอาหารลดลง

5.2.3. สาเหตุ

5.2.3.1. การบาดเจ็บ สารเคมี ความร้อน

5.2.3.2. ความเครียด ผักผ่อนไม่เพียงพอ ทำให้ภูมิคุ้มกันทำหน้าที่ไม่ดี

5.2.3.3. การติดเชื้อ-ไวรัส

5.3. Salivary glang

5.3.1. ต่อมน้ำลาย:บกพร่องในการสร้างและหลั่งน้ำลาย

5.3.2. กลไกและอาการ

5.3.2.1. ปากแห้ง

5.3.2.2. รับประทานอาหารไม่อร่อย

5.3.2.3. กลืนลำบาก

5.3.2.4. น้ำหนักตัวลดลง

5.3.3. สาเหตุ

5.3.3.1. กรรมพันธ์

5.3.3.2. การติดเชื้อ

5.3.3.3. รังสี เคมีบำบัด

5.3.3.4. Facial nerve palsy

6. ลำไส้เล็ก(Small intestine)

6.1. การอุดกั้น และตีบแคบ : ลดการเคลื่อนไหว (peristalsis)

6.1.1. อาการ

6.1.1.1. ปวดท้องทันทีทันใด

6.1.1.1.1. ปวดเป็นพักๆ ปวดบิด

6.1.1.1.2. ปวดตลอดเวลาและรุนแรง: ภาวะลำไส้บิดเป็นเกลียวเกิดการขาดเลือด

6.1.1.2. คลื่นไส้อาเจียน : เป็น reflex ของ visceral pain

6.1.1.2.1. อาเจียนแบบต่อเนื่องและรุนแรง : ลำไส้พองออกและมีของเหลวคั่ง

6.1.1.2.2. อาเจียนสีและมีกลิ่นอุจจาระ : อุดกั้นที่ Ileum ส่วนปลาย

6.1.1.2.3. อาเจียนสีน้ำดี : อุดกั้นที่ Ileu

6.1.1.3. ท้องอืด เคาะโปร่ง : อุดกั้นที่ลำไส้ใหญ่มากกว่าลำไส้เล็ก

6.1.1.4. ผายลมและถ่ายอุจจาระ

6.1.1.4.1. การอุดกั้นบางส่วน จะผายลมและอุจจาระได้

6.1.1.4.2. การอุดกั้นทั้งหมด จะไม่ผายลมและอุจจาระไม่ได้

6.1.2. สาเหตุ

6.1.2.1. ภายนอก

6.1.2.1.1. การกดเบียด

6.1.2.1.2. พังผืดในช่องท้อง

6.1.2.1.3. การเลื่อน: ส่วนของลำไส้เคลื่อนผ่านช่องว่าง / จุดอ่อนของผนังหน้าท้องออกมา

6.1.2.1.4. ยา

6.1.2.2. ภายใน

6.1.2.2.1. สิ่งอุดกั้น

6.1.2.2.2. พังผืดภายในลำไส้

6.1.2.2.3. การเลื่อน : ลำไส้ส่วนหนึ่งเคลื่อนตัวเข้าไปในลำไส้ที่อยู่ติดกัน

6.1.2.2.4. อุบัติเหตุ / การผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง

6.1.2.2.5. สารพิษ น้ำย่อย กรดเกลือ

6.1.2.2.6. การติดเชื้อในกระแสเลือด การติดเชื้อในช่องท้อง

6.1.3. พยาธิสรีรวิทยา

6.1.3.1. การคั่งของอาหาร น้ำย่อย อากาศ ในลำไส้เหนือส่วนที่อุดกั้น

6.1.3.2. ลำไส้บีบตัวอย่างรุนแรง เพื่อเอาชนะสิ่งที่อุดตันทำให้ผนังลำไส้บวม

6.1.3.3. การขับของเหลวและเกลือแร่เข้าโพรงช่องท้องทำให้เกิดการเสียน้ำและเกลือแร่

6.1.3.4. การเพิ่มจำนวนแบคทีเรียในลำไส้ หากแบคทีเรียเข้าช่องท้องและเลือดทำให้เกิดภาวะsepticemia และ septic shock

6.1.3.5. ลำไส้ขาดเลือด :ลำไส้ทะลุ ลำไส้ตาย

6.1.3.6. ความดันภายในลำไส้สูง : อาเจียน เยื่อบุช่องท้องอักเสบ

6.1.3.7. ลดปริมาณเลือด หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำ : hypovolemic shock

7. ริดสีดวง

7.1. การโป่งพองของหลอดเลือดที่ทวาร

7.2. กลไกและอาการ

7.2.1. เพิ่ม Intra-abdominal pressue

7.2.2. ลดการไหลเวียนของเลือดดำกลับสู่ Inferier vena cava

7.2.3. Portal hypertension, consatipation, pregnancy

7.2.4. การโป่งพองของหลอดเลือดดำบริเวณ anal canal

7.2.5. เกิดการคั่งของเลือดดำ

7.3. ประเภท

7.3.1. External hemorrhoid : ใต้ต่อ pectinate line

7.3.2. Internal hemorrhoid : เหนือต่อ pectinate line