วิวัฒนาการดนตรีสากล 7 ยุค

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
วิวัฒนาการดนตรีสากล 7 ยุค by Mind Map: วิวัฒนาการดนตรีสากล 7 ยุค

1. 3. ยุคบาโรค

1.1. (Baroque Period)

1.2. ค.ศ. 1600-1750 เครื่องดนตรีได้รับการพัฒนาจึงทำให้นักดนตรีมีความสามารถในการบรรเลงอย่างมาก จึงทำให้ยุคนี้มีประเภทการบรรเลงดนตรีที่หลากหลายมากขึ้น เช่น โซนาตาคอนแชร์โต โอเปรา เป็นต้น เริ่มมีการผสมวงออร์เคสตรา เพื่อใช้ประกอบการแสดงละครเพลงหรือโอเปรา (Opera) แต่ลักษณะการผสมวงของเครื่องดนตรียังไม่มีการกำหนดที่แน่นอน นอกจากนี้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายยังได้รับการพัฒนาอย่างมาก

2. 1.สมัยกลาง

2.1. (Middle Ages)

2.2. ดนตรีในยุคนี้เป็น vocal polyphony คือ เป็นเพลงร้องโดยมีแนวทำนองหลายแนวสอดประสานกัน

2.2.1. ซึ่งพัฒนามาจากเพลงสวด (Chant) และเป็นเพลงแบบมีทำนองเดียว (Monophony)

2.2.2. ในระยะแรกเป็นดนตรีที่ไม่มีอัตราจังหวะ (Non-metrical)

2.2.3. ในระยะต่อมาใช้อัตราจังหวะ ¾ ต่อมาในศตวรรษที่ 14 มักใช้อัตราจังหวะ 2/4 เพลงร้องพบได้ทั่วไป และเป็นที่นิยมมากกว่าเพลงที่บรรเลงด้วยเครื่องดนตรี รูปแบบของเพลงเป็นแบบล้อทำนอง (Canon) นักดนตรีที่ควรรู้จักคือ มาโซท์และแลนดินี

3. 2.ยุครีเนซองส์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

3.1. (Renaissance Period)

3.2. เป็นดนตรีในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15-16 (ราว ค.ศ. 1450-1600)

3.2.1. เป็นลักษณะของเพลงในยุคนี้โดยมีการล้อกันของแนวทำนองเดียวกัน (Imitative style)

3.3. ลักษณะบันไดเสียงเป็นแบบโหมด(Modes) ยังไม่นิยมแบบบันไดเสียง(Scales) การประสานเสียงเกิดจากแนวทำนองแต่ละแนวสอดประสานกัน มิได้เกิดจากการใช้คุณสมบัติของคอร์ด ลักษณะของจังหวะมีทั้งเพลงแบบมีอัตราจังหวะ และไม่มีอัตราจังหวะ ลักษณะของเสียงเกี่ยวกับความดังค่อย ยังมีน้อยไม่ค่อยพบ ลักษณะของเพลงมีความนิยมพอๆกัน ระหว่างเพลงร้องและบรรเลงด้วยเครื่องดนตรี เริ่มมีการผสมวงเล็กๆ เกิดขึ้น นักดนตรีที่ควรรู้จักคือ จอสกิน-เดอส์ เพรซ์ ปาเลสตรินา และเบิร์ด