การใช้กระบวนการทางการทางการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเด...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การใช้กระบวนการทางการทางการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ by Mind Map: การใช้กระบวนการทางการทางการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ

1. การประเมินสภาพระบบหายใจ

1.1. การซักประวัติ

1.1.1. การเจ็บป่วยปัจจุบัน

1.1.2. การรักษา

1.1.3. ยาที่ได้รับ

1.1.4. ประวัติการผ่าตัด

1.2. การตรวจร่างกาย

1.2.1. ระบบหายใจ

1.2.1.1. หายใจหอบเร็ว

1.2.1.2. ฟังเสียงปอดพบเสียงผิดปกติ

1.2.2. ระบบประสาท

1.2.2.1. กระสับกระส่าย

1.2.2.2. หงุดหงิด

1.2.2.3. สับสน

1.2.3. ระบบย่อยอาหาร

1.2.4. ระบบผิวหนัง

1.2.4.1. สีผิว

1.2.4.2. ปลายมือปลายเท้าซีดเขียว

1.3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.3.1. 1. ดูที่ค่าpH ค่าpH ปกติคือ 7.35 -7.45

1.3.1.1. pH < 7.35 เรียกว่า acidosis

1.3.1.2. pH > 7.45 เรียกว่า alkalosis

1.3.2. 2. ดูที่ค่าPaCO2 ค่าปกติPaCO2 อยู่ในช่วง 35-45 mmHg

1.3.2.1. PaCO2 < 35 mmHg เรียกว่า alveolar hyperventilation

1.3.2.2. PaCO2 > 45mmHg เรียกว่า alveolar hypoventilation

1.3.3. 3. ดูที่ค่า PaO2 ค่าปกติของ PaO2 อยู่ในช่วง 80-100 mmHg

1.3.4. 4. ดูที่ค่าHCO3 และ base excess (BE) HCO3 22-26 mEq/L ค่า BE + 2.5 mEq/L

1.3.5. 5. ดูที่ค่าoxygensaturation ค่าปกติ 97-100%

1.4. การตรวจพิเศษ

1.4.1. Lung function test

1.4.2. Bronchial stenosis

1.4.3. Bronchial obstruction

1.5. การส่องกล้องตรวจดูหลอดลมคอ(bronchoscopy)

1.6. การถ่ายภาพรังสีทรวงอก

1.7. การวัด oxygen saturation (SpO2 )

2. Respiratory

2.1. Respiratory Acidosis (Hypoventilation)

2.1.1. การหายใจการแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลง หายใจออก ลดลง

2.1.2. สาเหตุ

2.1.2.1. ได้รับยา ประเภท narcotic, barbiturate เกินขนาด ทำให้กดศูนย์ควบคุมการหายใจ

2.1.2.2. อัมพาตของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ

2.1.3. อาการ

2.1.3.1. ซึม เวียนศีรษะ หายใจลำบาก หายใจลดลง หมดสต

2.1.4. การรักษา

2.1.4.1. 1.ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ

2.1.4.2. 2.ให้การรักษาตามโรค เช่น ให้ยาปฏิชีวนะในโรคปอดอักเสบ ยาขยายหลอดลม และ สเตียรอยด์ในโรคหอบหืด

2.1.4.3. 3.ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต

2.2. Respiratory Alkalosis (Hyperventilation)

2.2.1. สาเหตุ

2.2.1.1. การหายใจเร็ว ภาวะหอบหืด ปอดอักเสบ ไข้สูงวิตกกังวล

2.2.1.2. เนื้องอกในสมอง สมองได้รับบาดเจ็บ ทำให้ศูนย์ควบคุม การหายใจทำงานผิดปกติ

2.2.1.3. การตั้งเครื่องช่วยหายใจไม่เหมาะสม

2.2.2. อาการ

2.2.2.1. ซึม สับสน หายใจเร็วลึก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก หมดสติ

2.2.3. การรักษา

2.2.3.1. ปรับลด Tidal volume , RR

2.2.3.2. ให้ยาแก้ปวด

2.2.3.3. Hyperventilation syndrome ให้ผู้ป่วยหายใจในถุง กระดาษ

2.2.3.4. ให้Sedative drug

3. Metabolic

3.1. Metabolic Acidosis

3.1.1. สาเหตุ

3.1.1.1. ท้องร่วงรุนแรง

3.1.1.2. ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้

3.1.1.3. ไตวาย

3.1.1.4. เบาหวานที่ขาดอินซูลิน

3.1.1.5. กรดแลคติกคั่ง จากออกกำลังกายหักโหม

3.1.2. อาการ

3.1.2.1. ปวดศีรษะ สับสน อาเจียน ท้องเดิน หายใจหอบลึก เป็นตะคริวที่ท้อง ชาปลายมือ ปลายเท้า

3.1.3. การรักษา

3.1.3.1. ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต

3.1.3.2. Hemodialysis

3.2. Metabolic Alkalosis

3.2.1. สาเหตุ

3.2.1.1. อาเจียนรุนแรง, ใส่gastric suction เป็นเวลานาน

3.2.1.2. ได้รับยาขับปัสสาวะมาก

3.2.1.3. ท้องผูกหลายวัน มีการดูดซึมกลับของ HCO3-

3.2.2. อาการ

3.2.2.1. สับสน ไวต่อการกระตุ้น ชัก (Ca ต่ำ)คลื่นไฟฟ้าหวัใจผดิปกติ(K ต่ำ) กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลำไส้ไม่ทำงาน

3.2.3. การรักษา

3.2.3.1. ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ

4. โรคปอดอักเสบ

4.1. สาเหตุ

4.1.1. 1.ติดเชื้อแบคทีเรีย

4.1.2. 2.เชื้อไวรัส

4.1.3. 3.เชื้อไมโคพลาสมา

4.1.4. 4. เชื้อรา

4.1.5. 5. เชื้อโปรโตซัว

4.1.6. 6.สารเคมี

4.2. ประเภทของโรคปอดอักเสบ

4.2.1. 1. Hospital–acquired pneumonia (HAP)

4.2.2. 2. Ventilator associated pneumonia (VAP)

4.2.3. 3. Community–acquired pneumonia (CAP)

4.2.4. 4. Healthcare associated pneumonia (HCAP)

4.3. วินิจฉัย

4.3.1. ไข้สูง

4.3.2. หน้าเเดง ริมฝีปากแดง

4.3.3. ลิ้นเป็นฝ่า

4.3.4. อกบุ๋ม

4.3.5. รูจมูกบาน

4.3.6. มีเสียงcrepitation

4.4. พยาธิสภาพของโรคปอดอักเสบ

4.4.1. ระยะที่ 1 ระยะเลือดคั่ง

4.4.2. ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตัว

4.4.3. ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว

4.5. การรักษาโรคปอดอักเสบ

4.5.1. เก็บเสมหะ

4.5.2. ให้ยาปฏิชีวนะ

4.5.3. ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ

4.5.4. ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโตรลัยท์

4.5.5. ให้อาหารโปรตีนสูง

4.5.6. ดูแลความสะอาดของปากและฟัง

4.5.7. ควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ

5. พยาธิสรีรวิทยาของระบบหายใจ

5.1. 1. การระบายอากาศไม่เพียงพอ (Alveolar hypoventilation)

5.2. 2. การบกพร่องในการซึมผ่าน (Diffusion defect or impairment)

5.3. 3. Ventilation/perfusion mismatch

5.4. 4.เลือดไหลทางลัด (Shunteffect)

6. ปัญหา ทางเดินหายใจ

6.1. การติดเชื้อ

6.1.1. TB

6.1.2. Pneumonia

6.1.3. Bronchitis

6.1.4. Pharyngitis

6.1.5. Tonsillitis

6.2. การอุดกั้น

6.2.1. Cancer

6.2.2. Asthma

6.2.3. COPD

6.3. การกำจัดการขยาย

6.3.1. Hemothorax

6.3.2. Pneumothorax

6.3.3. Pleural effusion

6.3.4. Empyema

6.4. การบาดเจ็บ

6.4.1. Flail chest

6.4.2. Flail chest

7. ภาวะหายใจล้มเหลว (Respiratory Failure)

7.1. ชนิดของการหายใจล้มเหลว

7.1.1. Lung Failure

7.1.1.1. Oxygenation failure

7.1.1.1.1. มีภาวะHypoxemia,PaO2≤ 60mmHg Gas exchange failure “hypoxemia”

7.1.2. Pump Failure

7.1.2.1. Ventilatory failure

7.1.2.1.1. มีภาวะHypoxemia,PaO2 ≤ 45 mmHg และ pH<7.35 “hypercapnia”

7.2. อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด

7.2.1. ระบบประสาท

7.2.1.1. กระสับกระส่าย

7.2.1.2. รูม่านตาขยาย ไม่ตอบสนองต่อเเสง

7.2.1.3. กล้ามเนื้อกระตุก

7.2.2. ระบบหายใจ

7.2.2.1. หายจเร็ว หอบเหนื่อย

7.2.2.2. ถ้ารุ่นแรงมากอาจเกิด apnea

7.2.3. ระบบหัวใจ และหลอด เลือด

7.2.3.1. ชีพจรเต้นเร็ว

7.2.3.2. ความดันสูง

7.2.3.3. ถ้าหัวจบีบตัวลงเกิด arrhythmia ความดันโลหิตลดลง

7.2.3.4. สร้างเม็ดเลือดเเดงเพิ่มขึ้น เลือดหนืด

7.2.4. ระบบผิวหนัง

7.2.4.1. ระยะเเรก เหงื่อออก ตัวเย็น

7.2.4.2. ระยะขาดรุนเเรง อาการตัวเขียว

7.2.5. อื่นๆ

8. โรคที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ

8.1. โรคหืด (Asthma)

8.1.1. ปัจจัย และสิ่งกระตุ้น

8.1.1.1. สารก่อภูมิแพ้

8.1.1.1.1. สัตว์เลี้ยง

8.1.1.1.2. เกสร

8.1.1.2. สารระคายเคือง

8.1.1.2.1. น้ำหอม

8.1.1.2.2. กลิ่น

8.1.1.2.3. สี

8.1.1.2.4. ฝุ่น

8.1.1.2.5. ควัน

8.1.1.3. ยาโดยกลุ่ม NSAID

8.1.1.4. การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น

8.1.2. พยาธิสรีรวิทยา

8.1.2.1. Antigen

8.1.2.1.1. chemical mediator release

8.1.3. การวินิจฉัย

8.1.3.1. 1. ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด

8.1.3.2. 2. มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น

8.1.3.3. 3. พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis

8.1.3.4. 4. มีประวุติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด

8.1.3.5. 5. เกิดอาการหลังออกกำลังกาย

8.1.4. การตรวจร่างกาย

8.1.4.1. 1. อาจไม่พบความผิดปกติขณะไม่มีอาการ

8.1.4.2. 2. อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น หายใจลำบากหายใจออกยาวกว่าปกติหรือหอบได้ยินเสียงหวีด

8.1.5. Asthma medications

8.1.5.1. Controllers

8.1.5.1.1. 1. Glucocorticosteroids: inhaled (ICS), systemic (OCS)

8.1.5.1.2. 2. Inhaled long-acting 2-agonists (LABA) in combination with ICS

8.1.5.1.3. 3. Leukotriene modifiers

8.1.5.1.4. 4. Sustained-release theophylline / Xanthines

8.1.5.1.5. 5. Anti-IgE

8.1.5.1.6. 6. (Cromones)

8.1.5.1.7. 7. Other systemic steroid-sparing therapies

8.1.5.2. Relievers

8.1.5.2.1. 1. Short-acting 2 agonists (SABA): inhaled / oral

8.1.5.2.2. 2. Inhaled anticholinergics: (combination with salbutamol or fenoteral)

8.1.5.2.3. 3. Short-acting theophylline

8.1.6. การควบคุมโรคหืด

8.1.6.1. 1.การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยญาติและผู้ใกล้ชิด

8.1.6.2. 2.แนะนำวิธีหลีกเลี่ยงที่เป็นรูปธรรม

8.1.6.2.1. ออกกำลังกาย พักผ่อน และคลายความเครียด

8.1.6.2.2. พกยาบรรเทา

8.1.6.2.3. ดื่มน้ำอุ่นมากๆ

8.1.6.2.4. ไม่ซื้อยามารับประทานเอง

8.2. (Chronic Obstructive Pulmonary Disease)

8.2.1. การวินิจฉัย

8.2.1.1. 1.ประวัติอาการ อาการแสดงที่พบ

8.2.1.1.1. ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์

8.2.1.1.2. ไอมีเสมหะเรื้อรัง

8.2.1.1.3. เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม

8.2.1.1.4. เม็ดเลือดแดงเพิ่ม

8.2.1.2. 2.ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต

8.2.1.3. 3.พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ

8.2.1.4. 4.พบค่า PaCO2 สูงขึ้น

8.2.2. ระดับความรุนแรงของการอุดกั้นหลอดลม

8.2.2.1. GOLD 1 Mild

8.2.2.1.1. อาการทางคลินิก

8.2.2.1.2. การรักษา

8.2.2.2. GOLD 2 Moderate

8.2.2.2.1. อาการทางคลินิก

8.2.2.2.2. การรักษา

8.2.2.3. GOLD 3 Severe

8.2.2.3.1. อาการทางคลินิก

8.2.2.3.2. การรักษา

8.2.2.4. GOLD 4 Very severe

8.2.2.4.1. อาการทางคลินิก

8.2.2.4.2. การรักษา

8.2.3. เป้าหมายของการรักษา

8.2.3.1. 1.บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด

8.2.3.2. 2.ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค

8.2.3.3. 3.ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น

8.2.4. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ

8.2.4.1. ข้อวินิจฉัยการพยาบาล

8.2.4.1.1. 1.เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการตีบแคบของหลอดลม

8.2.4.1.2. 2.เสี่ยงต่อการเกิดความไม่สมดุลของสารอาหารและน้ำ เนื่องจากภาวะการหายใจล้มเหลว

8.2.4.1.3. 3.ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยอ่อนเพลีย และหายใจลำบาก

8.2.4.1.4. 4.อาจเกิดอาการกลับซ้ำเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน

9. Pulmonary embolism

9.1. สาเหตุ

9.1.1. 1. Venous stasis

9.1.2. 2. Vessel injury

9.1.3. 3. Hypercoagulability

9.1.4. 4. กรรมพันธุ์ : ขาด antithrombin Plasminogen Protein c

9.1.5. 5. ความอ้วน

9.2. การวินิจัยและตรวจห้องปฏิบัติการ

9.2.1. หานจหอบเหนื่อย ใจสั่น แน่นหน้าอก

9.2.2. ออกซิเจนนเลือดต่ำ

9.2.3. ถ้าอุดตันหลอดเลือดใหญ่ จะตัวเย็น ความดันโลหิตต่ำ

9.2.4. ABG พบภาวะ Hypoxemia

9.3. พยาธิสภาพ

9.3.1. 1. Hypoxic V/Q imbalance

9.3.2. 2. Vasoconstrict

9.3.3. 3. Decrease surfactant

9.3.4. 4. Pulmonary edema

9.3.5. 5. Atelectasis alveolar dead space

9.4. การรักษา

9.4.1. การให้ยาละลายลิ่มเลือด(Thrombolysis)

9.4.2. การให้ยาต้านลิ่มเลือด (anticoagulants)

9.4.3. การผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออก (Surgical embolectomy)

10. Adult Respiratory Distress Syndrome

10.1. สาเหตุ

10.1.1. ความผิดปกติที่ ปอด

10.1.1.1. การสูดดมสาร พิษ

10.1.1.2. บาดเจ็บที่ปอด

10.1.1.3. จมน้ำ

10.1.1.4. ปอดอักเสบ ติดเชื้อ

10.1.1.5. Embolism

10.1.2. ความผิดปกติที่ อวัยวะอื่นแล้วส่ง ผลมาที่ปอด

10.1.2.1. Shock จาก Sepsis หรือเสีย เลือด

10.1.2.2. ได้รับเลือด ปริมาณมาก

10.1.2.3. Pancreatitis

10.2. พยาธิสภาพ

10.2.1. ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium

10.2.2. ความผิดปกติที่ alveolar epithelium

10.2.3. การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ

10.3. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อทาง เดินหายใจ

10.3.1. เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน

10.3.1.1. ประเมินอาการ วัดสัญญาณชีพ 02 Sat

10.3.1.2. ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ

10.3.1.3. ดูแลดูดเสมหะ

10.3.1.4. จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา

10.3.1.5. ดูเเลทำความสะอาดปากฟันห้สะอาด

10.3.1.6. ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา

10.3.1.7. ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

10.3.2. การขับเสมหะไม่มีประสิทธิภาพ

10.3.2.1. กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ

10.3.2.2. เปลี่ยนท่าผู้ป่วยบ่อยๆ

10.3.2.3. สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ

10.3.2.4. ดูแลให้ได้รับยาขับเสมหะตามแผนยา

10.4. การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดมะเร็ง ปอด

10.4.1. ประเมินระดับความเจ็บปวดแผลผ่าตัด

10.4.2. ดูแลให้ยาระงับปวด และบรรเทาปวดโดยใช้ เทคนิคการผ่อนคลาย

10.4.3. การจัดวางท่อระบายจากแผลผ่าตัด

10.4.4. จัดท่านอนหลังผ่าตัด Lobectomy ให้นอนตะแคงด้านตรงข้ามแผล