พยาธิสรีรภาพระบบย่อยอาหาร

พยาธิสรีรภาพระบบย่อยอาหาร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พยาธิสรีรภาพระบบย่อยอาหาร by Mind Map: พยาธิสรีรภาพระบบย่อยอาหาร

1. การประเมินอาการปวด

1.1. อาการปวดเริ่มจากน้อยๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ช้าๆ และทุเลาเองช้าๆ - โรคแผลในกระเพาะอาหาร หรือ acute gastroenteritis

1.2. มีอาการปวดเป็นๆ หายๆ ที่ความปวดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว มักพบใน intestinal colic

1.3. อาการปวดท้องมากขึ้นเรื่อยๆ อย่างช้าๆ โดยอาการไม่ดีขึ้นเลย มักพบใน acute cholecystitis หรือ acute appendicitis

1.4. เป็นอาการปวดที่มากและเฉียบพลัน มักพบในผู้ที่มีการแตกของท่อภายในช่องท้อง เช่น peptic perforation

2. โครงสร้างระบบทางเดินอาหาร

2.1. ท่อทางเดินอาหาร ประกอบด้วยปาก (mouth) หลอดคอ (pharynx) หลอดอาหาร (esophagus) กระเพาะอาหาร (stomach) ลำไส้เล็ก (small intestine) ลำไส้ใหญ่ (largre intestine) ทวารหนัก (rectum) ท่อทวารหนัก (Anal canal)

2.2. ต่อมสร้างน้ำย่อยของทางเดินอาหาร การสร้างน้ำย่อยหลายชนิดตลอดทางเดินอาหาร ซึ่งจะสร้างและหลั่งน้ำย่อยอาหาร อิเล็กโทรไลต์ต่างๆเข้าไปในโพรงทางเดินอาหาร ได้แก่ ต่อมน้ำลาย ตับอ่อน ตับ

3. หน้าที่ของทางเดินอาหาร

3.1. การหลั่งน้ำย่อยอาหาร

3.1.1. การย่อยอาหาร

3.1.1.1. การดูดซึมอาหาร

3.2. การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร

4. อาการและอาการแสดงของโรคในระบบทางเดินอาหาร

4.1. สาเหตุ

4.1.1. การยืดของกระเพาะอาหารและลำไส้มากเกินไป

4.1.2. เป็นปฏิกิริยาตอบสนองฉับพลันที่เกิดขึ้นในร่างกาย (reflex) ศูนย์ควบคุมการอาเจียนที่อยู่บริเวณก้านสมองส่วนท้าย - เป็นการขับ Gastric content ออกจากร่างกายทางปาก - การบีบตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง ทำให้เกิดแรงดันในช่องท้องเพิ่มมากขึ้น ร่วมกับการเคลื่อนไหวของหลอดอาหาร - อาการร่วม Nausea, dizziness

4.1.3. สารเคมีบางชนิดสามารถกระตุ้นตัวรับรู้ทางเคมีของเซลล์ไร้ท่อบริเวณกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก

4.1.4. ระดับความดันในสมองเพิ่มมากขึ้น

4.1.5. มีอาการเมาเคลื่อนไหว

4.1.6. มีความเจ็บปวดรุนแรงของร่างกาย

4.2. อาการที่เกี่ยวข้องกับการอาเจียน

4.2.1. ระบบประสาทซิมพาเทติก การหลั่งของน้ำลายเพิ่มมากขึ้น

4.2.2. ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก - อาการอาเจียน

4.3. กระทบต่อร่างกาย

4.3.1. ขับสารพิษออกมาก่อนที่จะดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย

4.3.2. สูญเสียน้ำ อิเล็กโทรไลต์และเกลือแร่ ออกจากร่างกาย

4.3.3. เกิดภาวะความเป็นด่างในเลือด

4.3.4. การไหลเวียนเลือดผิดปกติ

5. อาการปวดท้อง (Abdominal Pain)

5.1. - อาการปวดบริเวณหน้าลำตัว ตั้งแต่ชายโครง ลงไปถึงขาหนีบ - อาการปวดเป็นความรู้สึกที่สมองตีความรู้สึกไม่พึงปราถนา ตรงกับบริเวณที่มีประสาทสัมผัสในระดับประสาทสันหลังที่ T7-T12

5.2. ประเภทของอาการปวดท้อง

5.2.1. Visceral Pain เป็นอาการปวดอวัยวะภายในเกิดจากการยืดและการตึงตัว ของอวัยวะในช่องท้อง

5.2.2. Referred pain อาการปวดที่เกิดใน ตำแหน่งที่ห่างไกลจากที่ควรจะเป็น

5.3. การกระตุ้น Abdominal pain

5.3.1. - อาการปวดท้องจากผนังลำตัวบริเวณท้อง - อาการปวดท้องจากอวัยวะภายในช่องท้อง - อาการปวดจากการขยายตัวของอวัยวะในช่องท้อง จนทำให้เยื่อหุ้มตึง

6. Portal Hypertension

6.1. เกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างในระบบของเส้นเลือดดำ Portal vein ซึ่งเกิดจากภาวะตับแข็งทำให้มีการเพิ่มแรงดันภายในเส้นเลือดดำ และแขนงหลอดเลือด

7. ความผิดปกติของผนังทางเดินอาหาร

7.1. Hematemesis หมายถึง การอาเจียนเป็นเลือด อาจเป็นเลือดสดหรือเลือดเก่าสีดำ

7.2. Melena หรือ tarry stool การถ่ายอุจจาระดำ ดำปนแดง น้ำตาลเข้ม

7.3. สาเหตุการเกิด

7.3.1. 1. โรคซึ่งทำลายเนื้อเยื่อในระบบทางเดินอาหาร

7.3.1.1. 2.โรคที่มีผลต่อผนังหลอดเลือด

7.3.1.2. 3. ความบกพร่องในกลไกการแข็งตัวของเลือด

7.4. สาเหตุของการตกเลือดในระบบทางเดินอาหาร

7.4.1. Duodenal ulcer , Peptic ulcer

7.4.1.1. แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น, แผลในกระเพาะอาหาร

7.4.2. Gastric ulcer

7.4.2.1. แผลในกระเพาะอาหาร

7.4.3. Helicobacter pylori

7.4.3.1. เชื้อ Helicobacter pylori

7.4.4. Gastroduodenitis

7.4.4.1. การอักเสบ

7.4.5. Esophageal Varices

7.4.5.1. เกิดจากภาวะตับแข็งมากที่สุด

7.4.6. Hemorrhoid

7.4.6.1. ริดสีดวงทวาร

8. ท้องผูก หมายถึง อาการถ่ายอุจจาระลำบาก ซึ่งมักร่วมด้วยการมีอุจจาระแข็ง

8.1. สาเหตุ

8.1.1. อุปนิสัยในการถ่ายอุจจาระ

8.1.2. ภาวะขาดน้ำ

9. Diarrhea การเพิ่มจำนวนครั้งและปริมาตรของสารน้ำของอุจจาระ

9.1. . อาการท้องร่วงอย่างเฉียบพลัน

9.2. อาการท้องร่วงชนิดเรื้อรัง

9.3. ผลกระทบต่อร่างกาย ปริมาณเลือดและน้ำในร่างกายลดน้อยลง

10. Gastroesophageal reflux disease (GERD)

10.1. โรคที่มีความผิดปกติซึ่งเกิดจากการย้อนกลับขึ้นมาของน้ำย่อยจากในกระเพาะอาหารอย่างผิดปกติสู่หลอดอาหาร

11. ความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว

11.1. ลำไส้อุดตัน

11.1.1. ภาวะที่ไม่มีการลำเลียงกากอาหาร

11.1.2. ผลกระทบต่อร่างกาย

11.1.2.1. การเปลี่ยนแปลงของระบบการไหลเวียนเลือดและผนังลำไส้

11.1.2.2. การเปลี่ยนแปลงของแบคทีเรียในลำไส้

11.1.2.3. การเปลี่ยนแปลงของสารน้ำในลำไส้

11.1.2.4. การเปลี่ยนแปลงการบีบตัว (Motility) ของลำไส้

12. ความผิดปกติของตับและน้ำดี

12.1. Jaundice

12.1.1. ภาวะที่มีการรบกวนกระบวน สร้างและสลาย bilirubin ซึ่งส่งผลให้ bilirubin อิสระมีเพิ่มมากขึ้นในกระแสเลือด

12.2. Ascites

12.2.1. ภาวะท้องมานเป็นการสะสมของของเหลวในช่องท้อง