อัตราการเกิดปฏิกิริยา
by True True
1. สารตั้งต้นที่ลดลง/เวลา
2. คือ ปริมาณสาร - ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น - ใน 1 หน่วยเวลา - ตั้งต้นที่ลดลง -
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย
3.1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจากสารตั้งต้นที่ลดลงหรือ สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นต่อเวลาทั้งหมด
4. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ช่วงเวลา
4.1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจากสารตั้งต้นที่ลดลงหรือ สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา
5. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ จุดเวลา
5.1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจากสารตั้งต้นที่ลดลงหรือ สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ณ เวลาที่สนใจ
5.1.1. หาจากกราฟปริมาณสารกับเวลา
6. การเกิดปฎิกิริยาเคมี
7. ทฤษฎีการชน
7.1. อนุภาคสารตั้งต้นต้องชนกัน
7.2. ทิศทางการชนต้องเหมาะสม
7.3. ต้องเกิดพลังงานอย่างน้อยเท่ากับ Ea
8. สารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น /เวลา
9. ปฏิกิริยาดูด-คายพลังงาน
9.1. ดูด
9.1.1. พลังงาน P > S
9.2. คาย
9.2.1. พลังงาน S > P
10. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตรา
10.1. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
10.2. พท.ผิวของสารตั้งต้น
10.2.1. มีมาก มีโอกาสชนกันได้มาก
10.3. อุณหภูมิ
10.3.1. เมื่ออุณหภูมิเพิ่ม อัตราเพิ่มเสมอ
10.4. ตัวเร่ง
10.4.1. ลด Ea ของปฏิกิริยา
10.5. ตัวยับยั้ง
10.5.1. จะเพิ่ม Ea
11. Ea
11.1. พลังงานก่อกัมมันต์
11.1.1. พลังงานที่น้อยที่สุดที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นได้
11.1.2. Ea ต่ำ เกิดปฏิกิริยาง่ายกว่า Ea สูง
11.1.2.1. ต่ำกว่าเกิดเร็วกว่า
11.1.3. Ea สูงสุดในปฏิกิริยาเป็นตัวกำหนดอัตราการเกิดปฏิกิริยา เพราะ เป็นขั้นที่เกิดยากที่สุด