หัวข้อที่ 1-6

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หัวข้อที่ 1-6 by Mind Map: หัวข้อที่ 1-6

1. The right to health

1.1. แนวคิดสิทธิสุขภาพ

1.1.1. สิทธิด้านสุขภาพ

1.1.1.1. สิ่งที่มนุษย์ทุกคนพึงมีที่สุด ซึ่งเป็นหนึ่งในสิทธิขั้นพื้นฐาน

1.1.1.2. โดยไม่แบ่งชนชาติ ศาสนา ความเชื่อ การเมือง ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม

1.1.2. สุขภาพของทุกคนเป็นพื้นฐานของความสงบสุข/สันติ

1.1.2.1. เกิดจากตัวบุคคลและรัฐจัดให้ เพื่อลดความเสี่ยงต่อสุขภาพ

1.1.2.2. บทบาทของแต่ละคน

1.1.2.2.1. พ่อแม่มีสิทธิ์ในการเลี้ยงดูบุตร

1.1.2.2.2. รัฐมีหน้าที่จัดหาให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพ

1.2. กฏหมายและสิทธิสุขภาพ

1.2.1. กฏหมายมีพลังในการป้องกันสุขภาพให้ปลอดภัย

1.2.2. การควบคุมโรค

1.2.2.1. โรคติดต่อ

1.2.2.1.1. Screen

1.2.2.1.2. Reparting

1.2.2.1.3. Contact tracing

1.2.2.1.4. Isolation

1.2.2.1.5. Quarantine

1.2.2.2. โรคไม่ติดต่อ

1.2.2.2.1. เป็นการแทรกแซงทางกฎหมาย

1.2.3. กฏหมายอื่น

1.2.3.1. สุขภาพจิต

1.2.3.1.1. ปกป้องและรับบริการทางการแพทย์และสังคม

1.2.3.2. บาดเจ็บ

1.2.3.2.1. การบาดเจ็บลดลง มีใบขับขี่ คาดเข็มขัดนิรภัย

1.2.3.3. บัตรทอง

1.2.3.3.1. หลักประกันที่ครอบคลุมและเสมอภาค

1.2.3.4. หลายภาคส่วน

1.2.3.4.1. มีความมั่นใจและปลอดภัย

1.2.3.5. การตีตรา/เลือกปฏิบัติ

1.2.3.5.1. ห้ามเลือกปฏิบัติ

1.2.4. ธรรมาภิบาล

1.2.4.1. ประกันความยุติธรรมและประสิทธิภาพ

1.2.4.1.1. เคารพสิทธิสุขภาพ

1.2.4.1.2. ปกป้องบุคคลที่สาม

1.2.4.1.3. อำนวยความสะดวก จัดหา ส่งเสริม

1.3. การส่งเสริมสุขภาพสิทธิด้านสุขภาพ

1.3.1. สร้างการเข้าถึงโดยไม่เลือกปฎิบัติ

1.3.2. ประกันการเข้าถึงอาหารปลอดภัย

1.3.3. ประกันที่พัก,สุขาภิบาล,น้ำ

1.3.4. จัดหายา

1.3.5. ประกันการกระจายบริการเสมอภาค

1.3.6. ดำเนินการแก้ไข/ตามแผน

1.3.7. แม่และเด็ก

1.3.8. วัคซีน

1.3.9. ป้องกัน/ควบคุมโรคเฉพาะถิ่น

1.3.10. ศึกษาโรค/ความรู้ที่เผชิญ

1.3.11. อบรมบุคลากรเกี่ยวกับสิทธิ

2. Ethic and Code Conduct

2.1. นิยาม

2.1.1. จรรยาบรรณ ความประพฤติ เกียรติ ชื่อเสียง เขียนหรือไม่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร

2.1.2. จรรยาบรรณวิชาชีพ ความประพฤติ เกียรติ ชื่อเสียง เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร

2.1.3. คุณธรรม หลักในใจ

2.1.4. ศีลธรรม ประพฤติชอบ

2.1.5. จริยธรรม กระทำดี/ชั่ว

2.2. สิทธิ

2.2.1. ความชอบธรรมที่บุคคลใช้ยืนยันกับบุคคลใช้ยืนยันกับบุคคลอื่นเพื่อรักษาประโยชน์

2.2.2. อ้างยืนยันสิทธิกับผู้อื่น เพื่อผลประโยชน์

2.2.3. องค์ประกอบ

2.2.3.1. เจ้าของ=บุคคล

2.2.3.2. วัตถุแบ่งสิทธิ์=ทรัพย์สิน

2.2.3.3. ผู้อื่น=บุคคล

2.2.3.4. ความชอบธรรม=เสมอภาค

2.2.4. ประเภท

2.2.4.1. สิทธิเอกชน ทรัพย์ส่วนบุคคล

2.2.4.1.1. เจ้าหนี้ ลูกหนี้

2.2.4.2. สิทธิมหาชน กฏหมายบัญญัติไว้

2.2.4.2.1. รักษาพยาบาล

2.3. หน้าที่

2.3.1. ความชอบธรรมทางความผูกพันธ์ให้ตกในสถานะงด/ยอม ให้กระทำการตามผลอันชอบทำของบุคคลอื่น

2.3.2. ตามประมวลกฏหมายแพ่ง:บุตรเลี้ยงดูพ่อแม่

2.4. จรรยาบรรณวิชาชีพ

2.4.1. หลักสำคัญ

2.4.1.1. รัก-ศรัทธา

2.4.1.2. ซื่อสัตย์

2.4.1.3. เคารพกฏระเบียบ

2.4.1.4. ให้เกียรติผู้ร่วมงาน

2.4.1.5. รวมกลุ่ม มั่นคง

2.4.2. ประโยชน์ ความสำคัญ

2.4.2.1. ประพฤติเหมาะสม

2.4.2.2. ควบคุมการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

2.4.2.3. ควบคุมปริมาณงาน

2.4.2.4. ซื่อสัตย์ ยุติธรรม

2.4.2.5. ไม่เห็นแก่ตัว

2.4.2.6. พิทักษ์สิทธิ์ผู้ประกอบวิชาชีพ

2.4.3. การปฏิบัติตนให้อยู่ในจรรยาบรรณวิชาชีพ

2.4.3.1. ซื่อสัตย์ต่อผู้รับบริการ

2.4.3.2. เป็นกลางในการบริการ

2.4.3.3. อิสระในการรายงานผล

2.4.3.4. การเก็บความลับข้อมูลสุขภาพ

2.4.3.5. มาตรฐาน งานวิชาการ

2.4.3.6. ความสามารถ,ระมัดระวัง

2.4.3.7. พฤติกรรม จริยธรรม