บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด by Mind Map: บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด

1. อารมณ์เศร้าหลังคลอด

1.1. สาเหตุ

1.1.1. ไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่ามีความเกี่ยวข้องกับความไม่สุขสบายหลังคลอดหรือความตึงเครียดทางจิตสังคม

1.2. อาการและอาการแสดง

1.2.1. ร้องไห้ไร้เหตุผล,อารมณ์เปลี่ยนแปลงเร็ว,ขาดสมาธิ,กระวนกระวาย/นอนไม่หลับ

1.3. การพยาบาล

1.3.1. ประคับประคองด้านจิตใจ,อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ให้สามี/ญาติเข้าใจ

2. ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด

2.1. สาเหตุ

2.1.1. การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน,มีประวัติซึมเศร้า,สัมพันธภาพกับสามีไม่ดี,ไม่พร้อมตั้งครรภ์,รู้สึกโดเดี่ยวด้อยค่า,คลอดบุตรเจ็บป่วย/พิการ

2.2. อาการและอาการแสดง

2.2.1. ไม่สนใจผู้อื่น,ขาดสมาธิ,เศร้า/อ่อนเพลีย/นอนไม่หลับ,ร้องไห้ง่าย,พูดถึงความหวาดกลัว รู้สึกไม่มั่นคง

2.3. การพยาบาล

2.3.1. ทำจิตบำบัด,ให้ยาต้านเศร้า,เพิ่มการช่วยเหลือด้านสังค,ให้คำปรึกษาแก่มารดาและครอบครัว

3. ภาวะจิตผิดปกติหลังคลอด

3.1. สาเหตุ

3.1.1. สัมพันธภาพกับสามีไม่ดี,มีอาการทางจิตก่อนตั้งครรภ์มีภาวะวิกฤตเกิดขึ้นฉับพลัน,ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่ำ,ประสบการณ์คลอดไม่ดี,ปรับตัวระยะตั้งครรภ์ไม่ดี

3.2. อาการและอาการแสดง

3.2.1. Bipolar disorder คือมีอาการวิกลจริตสลับกับซึมเศร้า อยู่ไม่นิ่ง ว้าวุ่น

3.2.2. Majoe depression คือ มีความรู้สึกด้อยค่ารุนแรง รู้สึกผิด กังวลเกี่ยวกับสุขภาพทารก อาจเพ้อว่าทารกพิการหรือเสียชีวิต

3.3. การพยาบาล

3.3.1. ยาทางจิตเวช , การให้คำปรึกษา,เพิ่มการช่วยเหลือทางด้านสังคม,ทำจิตบำบัด

4. การติดเชื้อหลังคลอด

4.1. การติดเชื้อที่มดลูกในระยะหลังคลอด(Postpartal uterine infection) เป็นการติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูกในระยะ 6 สัปดาห์แรกของการคลอด

4.1.1. ปัจจัยเสี่ยง

4.1.1.1. เป็นโรคทางอายุรกรรม,ขาดสารอาหาร,ระยะคลอดยาวนาน,ตรวจภายในบ่อย,ถุงน้ำแตกก่อนกำหนดนาน,ได้รับการทำสูติศาสตร์หัตถการ,ได้รับการล้วงรก

4.1.2. การพยาบาล

4.1.2.1. ให้ยาปฏิชีวนะ,ประเมิน v/s,Aseptic technique,ประเมินอาการปวดมดลูก, สังเกตน้ำคาวปลา,ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก

4.1.3. อาการและอาการแสดง

4.1.3.1. ปวดศีรษะและปวดหลัง,มีไข้สูง,น้ำคาวปลามีกลื่นเหม็น,มดลูกใหญ่ขึ้น/ไม่ลดลงต่ำกว่าสะดือ

4.2. การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ/หน้าท้องในระยะ หลังคลอด

4.2.1. สาเหตุ

4.2.1.1. -การดูแลที่ไม่ถูกวิธี -ใช้เวลาในการคลอด/ผ่าตัดยาวนาน

4.2.2. อาการและอาการแสดง

4.2.2.1. แผลฉีกขาด,แผลบวม แดง ร้อน กดเจ็บ,มีไข้,น้ำคาวปลามีกลิ่น,ปัสสาวะแสบขัด

4.2.3. การพยาบาล

4.2.3.1. ให้ยาปฏิชีวนะ,ประเมิน v/s ,สังเกตน้ำคาวปลา,เปิดแผลเพื่อระบายหนองและอัดแผลด้วยก๊อซชุบน้ำยาฆ่าเชื้อ

5. มดลูกไม่เข้าอู่

5.1. ระดับมดลูกไม่ลดลงติดต่อกัน 3 วัน/มดลูดลดตัวช้ากว่าปกติ

5.1.1. สาเหตุ

5.1.1.1. เศษรกค้าง,ตั้งครรภ์มากกว่า 6 ครั้ง,ผ่าตัดคลอด,มดลูกติดเชื้อ,ตั้งครรภ์แฝด/แฝดน้ำ,กระเพาะปัสสาวะเต็ม,ทารกไม่ได้ดูดนมแม่,เคลื่นไหวร่างกายช้า

5.1.2. อาการและการแสดง

5.1.2.1. ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง,มีไข้,น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น,ปวดท้อง

5.1.3. การพยาบาล

5.1.3.1. ให้ลูกดูดนมจากเต้า,จิบน้ำอุ่นบ่อยๆ,อยู่ไฟ,เข้ากระโจม,นวดประคบสมุนไพร

6. การอักเสบที่หลอดเลือดำ

6.1. เป็นการอักเสบของเยื่อบุหลอดเลือดพร้อมกับการสร้างลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดบางส่วน

6.1.1. สาเหตุ

6.1.1.1. มีการคั่ง การบาดจ็บและการแข็งตัวของเลือด,มดลูกติดเชื้อ,เคลื่อนไหวช้า,โรคเบาหวาน หัวใจ โลหิตจาง,สูบบุหรี่,อายุมากกว่า 35 ปี , คลอดมากกว่า 3 ครั้ง

6.1.2. อาการและอาการแสดง

6.1.2.1. ขาข้างที่เป็นมีการปวดบวม,มีไข้/หนาวสั่น,หัวใจเต้นเร็ว,หายใจเร็ว

6.1.3. การพยาบาล

6.1.3.1. ประเมิน v/s ,ให้ยาปฏิชีวนะ,ประเมิน homan's sign

7. เต้านมอักเสบ

7.1. มีการติดเชื้อของเต้านมและหัวนม

7.1.1. สาเหตุ

7.1.1.1. หัวนมแตก/มีแผล,ท่อน้ำนมอุดตัน,มีน้ำนมคั่งในเต้า,มีประวัติติดเชื้อที่เต้านมและหัวนม,ให้ทารกดูดไม่ถูกวิธี

7.1.2. อาการและอาการแสดง

7.1.2.1. เต้านมแดง ร้อน กดเจ็บ,ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้โต,มีไข้ คลื่นไส้ อาเจียน

7.1.3. การพยาบาล

7.1.3.1. ประเมิน v/s ,ให้ยาปฏิชีวนะ,ให้ยาแก้ปวด,ผ่าระบายหนองออก