1. การวิเคราะห์พลวัตทางการเมือง ที่มีผลต่อการจัดการศึกษายุคใหม่

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
1. การวิเคราะห์พลวัตทางการเมือง ที่มีผลต่อการจัดการศึกษายุคใหม่ by Mind Map: 1. การวิเคราะห์พลวัตทางการเมือง ที่มีผลต่อการจัดการศึกษายุคใหม่

1. จุดอ่อน – โอกาส (WO)

1.1. โอกาส (Opportunity)

1.1.1. O1 MOU กับคณะศึกษาศาสตร์เพื่อยกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระทั้ง 3 ปี

1.1.2. O4 มีการคัดเลือกนักเรียนมาใหม่

1.1.3. O2 มีงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล

1.1.4. O3 ได้รับความร่วมมือจากสมาคมผู้ปกครองศิษย์เก่า สมาคมผู้ปกครองและครู

1.1.5. O6 เป็นโรงเรียนที่บุคคลภายนอกยอมรับ

1.1.6. O7 ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์, คณะวิชาอื่นๆใน มหาวิทยาลัย

1.1.7. O8 โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญอาจารย์ จากคณะวิชาต่างๆ ในการเป็นที่ปรึกษาหรือให้ความ ช่วยเหลือ และมีอาจารย์จากมหาวิทยาลัยให้การ ช่วยเหลือมาช่วยสอนในบางรายวิชา

1.1.8. O9 ความต้องการของผู้ปกครองในการนำนักเรียนเข้ามาเรียนมีจำนวนมาก

1.1.9. O10 อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของคณะศึกษาศาสตร์

1.1.10. O11 มีการใช้หลักสูตรใหม่นำร่อง

1.2. แผนการดำเนินงาน

1.2.1. 1. ส่งเสริมอาจารย์มีผลงานวิจัย โดยการจัดสรร ทุนอุดหนุนด้านการวิจัย/สร้างสรรค์/พัฒนา นวัตกรรมทางการศึกษา (W2, W11, W10, O7)

1.2.1.1. W2 ผลงานวิจัยของคณาจารย์มีน้อย

1.2.1.2. W10 การแนะแนวทางการศึกษายังไม่เพียงพอ

1.2.1.3. W11 ตาแหน่งทางวิชาการของบุคลากรมีน้อย

1.2.1.4. O7 ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์, คณะวิชาอื่นๆใน มหาวิทยาลัย

1.2.2. 2. สร้างเครือข่ายโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร กับโรงเรียนในสังกัด (W5, W6, W9, W14, O6)

1.2.2.1. W5 ไม่มีเครือข่ายกับชุมชน

1.2.2.2. W6 แหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ (ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์)

1.2.2.3. W9 ไม่มีความร่วมมือกับสถานศึกษาทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ

1.2.2.4. W14 ไม่มีหลักสูตรต้นแบบของตนเองตามแบบโรงเรียนสาธิต

1.2.2.5. O6 เป็นโรงเรียนที่บุคคลภายนอกยอมรับ

1.2.3. 3. ส่งเสริมให้อาจารย์และบุคลากร พัฒนาศักยภาพในการทำงาน (W1, W8, W21, O7, O8)

1.2.3.1. W1 บุคลากรสายสนับสนุนมีมากเกินไป

1.2.3.2. W8 การศึกษาดูงานของบุคลากรน้อยเกินไป

1.2.3.3. W21 ครูขาดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนกับครูโรงเรียนอื่นๆ

1.2.3.4. O8 โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญอาจารย์ จากคณะวิชาต่างๆ ในการเป็นที่ปรึกษาหรือให้ความ ช่วยเหลือ และมีอาจารย์จากมหาวิทยาลัยให้การ ช่วยเหลือมาช่วยสอนในบางรายวิชา

1.2.4. 4. พัฒนากระบวนการลดขั้นตอนการทางานแบบเบ็ดเสร็จ (W3, W12, W19, O2, O7)

1.2.4.1. W3 ขาดโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลที่ทันสมัยและมี ประสิทธิภาพ (Website)

1.2.4.2. O7 ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์, คณะวิชาอื่นๆใน มหาวิทยาลัย

1.2.4.3. W12 การอำนวยความสะดวกต่อการทำงาน

1.2.4.4. W19 การสั่งงานที่ข้ามขั้นตอนไม่ผ่านตามลาดับที่ควระทำ และบางขั้นตอนมีความล่าช้า

1.2.4.5. O2 มีงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล

1.2.4.6. O7 ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์, คณะวิชาอื่นๆใน มหาวิทยาลัย

1.2.5. 5. พัฒนาฐานข้อมูล และปัจจัยทีจาเป็นต่อการบริหาร จัดการและด้านประกันคุณภาพ (W3, W12, W15, O2)

1.2.5.1. W3 ขาดโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลที่ทันสมัยและมี ประสิทธิภาพ (Website)

1.2.5.2. W12 การอำนวยความสะดวกต่อการทำงาน

1.2.5.3. W15 ขาดการประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนในด้านกิจกรรมหรือการแข่งขัน เมื่อนักเรียนได้รับ รางวัลหรือทาประโยชน์ให้กับโรงเรียน ควรให้ บุคลากรภายนอกได้รับทราบ

1.2.5.4. O2 มีงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล

2. 5. ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา (S3, S4, S15, O5, O7, O11)

2.1. S4 ครูสอนตรงตามเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นเรียน (ดูจากแผนการสอน)

2.2. S15 มีแผนการเรียนให้นักเรียนสามารถเลือกตามความสนใจ

2.3. O5 โควต้าเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยเข้าคณะ ต่างๆ

2.4. O7 ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์, คณะวิชาอื่นๆใน มหาวิทยาลัย

2.5. O11 มีการใช้หลักสูตรใหม่นำร่อง

3. ปัจจัยภายใน

3.1. จุดอ่อน (Weakness)

3.1.1. w1 ขาดแคลนงบประมาณ

3.1.2. w2 บุคลากรภายในโรงเรียนไม่เพียงพอในการจัดการเรียนการสอน

3.1.3. w3 ขาดโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ (Website)

3.1.4. w4 แหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ (ห้องสมุดห้องคอมพิวเตอร์)

3.1.5. w5 ไม่ค่อยมีการปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมการทำงาน ในแต่ละปีทำกิจกรรมซ้าๆ

3.1.6. w6 ห้องเรียนน้อยไม่เพียงพอต่อนักเรียนที่ต้องการเข้ามาศึกษา

3.1.7. w7 บุคลากรภายในโรงเรียนไม่ตรงสายการสอน

3.1.8. w8 สภาพแวดล้อมในโรงเรียนไม่เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนรู้

3.1.9. w9 ขาดแคลนเทคโนโลยีและสิ่งอำนวยความสะดวกที่สนับสนุนการเข้าสู่การเรียนรู้แบบอนไลน์

3.1.10. w10 ไม่มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ผู้เรียนสนใจ

3.1.11. w11 การบริหารงานของฝ่นยบริหารไม่มีประสิทธิภาพ

3.1.12. w12 แผนยุทธศาสตร์ของโรงเรียนและแผนยุทธศาสตร์ชาติไม่สอดคล้องกัน

3.1.13. w13 ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากท้องถิ่นที่เพียงพอ

3.1.14. w14 แผนการจัดการศึกษาไม่มีการปรับปรุงให้ทันต่อการเปลียนแปลง

3.1.15. w15กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไม่ตรงกับความสนใจ

3.1.16. w16บุคลากรในโรงเรียนขาดแรงจูงใจในการทำงาน

3.1.17. W17 ขาดการประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนในด้านกิจกรรมหรือการแข่งขัน เมื่อนักเรียนได้รับ รางวัลหรือทาประโยชน์ให้กับโรงเรียน ควรให้ บุคลากรภายนอกได้รับทราบ

3.2. จุดแข็ง (Strength)

3.2.1. S1 ครูสอนตรงสาขาที่จบการศึกษา

3.2.2. S2 ครูมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ(ดูจากแผนการสอน)

3.2.3. S3 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้และทางานร่วมกับผู้อื่นได้

3.2.3.1. S7 สนับสนุน/ส่งเสริมนักเรียนแข่งขัน/ประกวดกับ หน่วยงานภายนอก

3.2.4. S4 โรงเรียนมีสื่อ โสตทัศนูปกรณ์ที่ทันสมัยทุก ห้องเรียน

3.2.5. S5 โรงเรียนมีการพัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ

3.2.6. S6 ทำเลที่ตั้งของสถานศึกษาเหมาะสมการ คมนาคมสะดวก

3.2.7. S8 มีวิทยากรภายนอกมาช่วยสอน

3.2.8. S9 จัดตั้งสวัสดิการร้านค้า

3.2.9. S10 มีแผนการเรียนให้นักเรียนสามารถเลือกตาม ความสนใจ

3.2.10. S11 ครูสอนตรงตามเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นเรียน(ดู จากแผนการสอน)

3.2.11. S12 โรงเรียนเป็นแหล่งผลิตนักเรียนที่มีคุณภาพ

3.2.12. S13 ผู้ปกครองให้ความร่วมมือกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนด้วยดี

3.2.13. S14 โรงเรียนมีเครือข่ายการทำงานที่เข้มแข็ง

3.2.14. S15 มีแผนการเรียนให้นักเรียนสามารถเลือกตาม ความสนใจ

3.2.15. S16 นักเรียนเก่งมีความสามารถมีความคิด สร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบ

4. สมาชิกกลุ่ม

4.1. นางวันทนา งามเนตร

4.2. นายสายชล นาคทิพย์วรรณ

4.3. นางสาวภูษณาภรณ์ กลิ่นอ่อน

4.4. นางสาวนฤมล มณีแดง

5. ปัจจัยภายนอก

5.1. อุปสรรค (Threat)

5.1.1. T1 นโยบายและแผนการพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการไม่ชั้นเจน

5.1.2. T2 การจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลไม่เพียงพอ

5.1.3. T3 การปรับเปลี่ยนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการบ่อยครั้ง ทำให้การดำเนินนโยบายการพัฒนาการศึกษาไม่ต่อเนื่อง

5.1.4. T4 ระบบอุปถัมป์

5.1.5. T5 นโยบายที่เห็นผลงานที่จับต้องได้ในระยะสั้น

5.1.6. T6 การปฏิรูปการศึกษา

5.1.7. T7 การจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติที่ระยะยาว

5.1.8. T8 รัฐบาลไม่ให้ความสำคัญกับการศึกษาเท่าที่ควร

5.2. โอกาส(Opportunity)

5.2.1. O1 ชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

5.2.2. O2หน่วยงานภายนอกเห็นความสำคัญของการศึกษาและให้การสนับสนุน

5.2.3. O3 คณะรัฐมนตรีที่มาจากหน่วยงานทางการศึกษาเข้าใจสภาพปัญหาต่างๆได้ดี

5.2.4. O4 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ทรัพยากรหรือบุคคลมาใช้ในการสนับสนุนการศึกษา

5.2.5. O5 มีการกำหนดเป้าหมายและทิศทางทางการศึกษา

5.2.6. O6 มีการจัดการศึกษาในหลายระบบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงการศึกษาได้ในหลายรูปแบบ

5.2.7. O7 คณะรัฐมนตรีที่มาจากหน่วยงานทางการศึกษาทำให้เข้าใจสภาพปัญหาต่าง ๆ ได้ดี

5.2.8. O8 ได้รับการจัดสรรงบประมาณทรัพยากร หรือบุคคลมาใช้ในการสนับสนุนทางการศึกษา

5.2.9. O9 มีการกำหนดเป้าหมาย และทิศทางทางการศึกษา

5.2.10. O10 มีการจัดการศึกษาในหลายระบบเพื่อสามารถเข้าถึงการศึกษาได้ในหลายรูปแบบ