4. การวิเคราะห์พลวัตทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ที่มีผลต่อการจัดการศึกษายุคใหม่

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
4. การวิเคราะห์พลวัตทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ที่มีผลต่อการจัดการศึกษายุคใหม่ by Mind Map: 4. การวิเคราะห์พลวัตทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ที่มีผลต่อการจัดการศึกษายุคใหม่

1. ด้านปัจจัยภายนอก

1.1. โอกาส (Opportunity)

1.1.1. O2 มีงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล

1.1.2. O3 ได้รับความร่วมมือจากสมาคมผู้ปกครองศิษย์เก่า สมาคมผู้ปกครองและครู

1.1.3. O4 มีการคัดเลือกนักเรียนมาใหม่

1.1.4. O6 เป็นโรงเรียนที่บุคคลภายนอกยอมรับ

1.1.5. การสนับสนุนโรงเรียนจากชุมชน

1.1.6. .สภาพแวดล้อมเอื้ออำนวยต่อการสอน

1.1.7. สามารถแสวงหาความรู้

1.1.8. ทำงานอย่างเป็นระบบ

1.1.9. เป็นระบบการศึกษาที่กำลังได้รับความนิยม มีโอกาสขยายเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ขึ้นได้ สามารถสร้างเป็นโรงเรียนประจำเพื่อรองรับนักเรียนต่างชาติ

1.1.10. ทำ MOU เพื่อความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาขนาดใหญ่ทั้งในและต่างประเทศ ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ

1.1.11. มีโครงการทวิศึกษาร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพเพื่อเพิ่มความรู้ด้านทักษะทางเทคโนโลยีให้กับผู้เรียน

1.1.12. การส่งผลงานทางเทคโนโลยีเข้าประกวดในกิจกรรมต่างๆขององค์กรภายนอก

1.1.13. เข้าร่วมโครงการยกระดับคุณภาพโรงเรียนระดับอำเภอด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์(SMT) สสวท.

1.1.14. มีงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล

1.2. อุปสรรค (Threat)

1.2.1. T1 นโยบายของโรงเรียนเปลี่ยนตามวาระผู้บริหาร

1.2.2. O9 ความต้องการของผู้ปกครองในการนำนักเรียนเข้ามาเรียนมีจำนวนมาก

1.2.3. T7 เทคโนโลยีมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว ทาให้นักเรียนปฏิบัติตามไม่ทัน

1.2.4. นักเรียนใช้เทคโนโลยีในด้านที่ผิด

1.2.5. การเปลี่ยนแปลงทางด้านนโยบายทำให้การจัดการสอนไม่แน่นอน

1.2.6. การเข้าถึงเทคโนโลยี

1.2.7. อินเทอร์เนต

1.2.8. ค่าเล่าเรียนสูง กลุ่มลูกค้าเป้าหมายถูกจำกัดเฉพาะกลุ่ม

1.2.9. สถานที่ตั้งอยู่ในจังหวัดขนาดเล็ก ยังไม่มีชาวต่างชาติซึ่งเป็นผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายเข้ามาอาศัยหรือทำธุรกิจ

1.2.10. สัญญานอินเตอร์ไม่ครอบคลุม

1.2.11. นักเรียนขาดแคลนอุปกรณ์ส่วนตัว ได้แก่ โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ เป็นต้น

1.2.12. นโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับการศึกษามีการเปลี่ยนแปลง

1.2.13. เทคโนโลยีมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว

2. ด้านปัจจัยภายใน

2.1. จุดแข็ง (Strength)

2.1.1. S4 ครูสอนตรงตามเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นเรียน(ดู จากแผนการสอน)

2.1.2. S5 โรงเรียนมีกิจกรรมที่ส่งเสริมผู้เรียน(ดูจาก โครงการที่โรงเรียนจัด)

2.1.3. S6 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้และทางานร่วมกับผู้อื่นได้

2.1.4. S7 โรงเรียนมีสื่อ โสตทัศนูปกรณ์ที่ทันสมัยทุก ห้องเรียน

2.1.5. S9 โรงเรียนมีการพัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ

2.1.6. S11 สนับสนุน/ส่งเสริมนักเรียนแข่งขัน/ประกวดกับ หน่วยงานภายนอก

2.1.7. S14 นักเรียนเก่งมีความสามารถมีความคิด สร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบ

2.1.8. PLC ร่วมมือของครู

2.1.9. บุคลากรมีคุณภาพและพอเพียงต่อการสอน

2.1.10. บุคลลาการเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยี

2.1.11. ทำงานอย่างเป็นระบบโดยใช้เทคโนโลยี

2.1.12. หลักสูตรการสอนทันสมัย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนักคิด มุ่งเน้นทักษะด้านภาษาอังกฤษเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะเข้าถึงองค์ความรู้ต่างๆ จากทั่วโลก

2.1.13. บุคลากรเป็นเจ้าของภาษา มีความเชี่ยวชาญในการสอน

2.1.14. มีอุปกรณ์และห้องเรียนทางเทคโนโลยีพร้อม

2.1.15. ครูผู้สอนเทคโนโลยีมีความรู้ความเชี่ยวชาญ

2.1.16. มีแผนการเรียนภาษาอังกฤษ-คอมพิวเตอร์

2.1.17. มีระบบการจัดเก็บข้อมูลของรร.ด้วยเทคโนโลยี

2.1.18. ครูมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

2.1.19. ครูสอนตรงสาขาที่จบการศึกษาและมีความสามารถใช้เทคโนโลยี

2.2. จุดอ่อน (Weakness)

2.2.1. W4 ระเบียบวินัยของนักเรียนหละหลวม

2.2.2. W5 ไม่มีเครือข่ายกับชุมชน

2.2.3. W7 กิจกรรม/ชมรมไม่ค่อยได้รับความสนใจจากผู้เรียน

2.2.4. W9 ไม่มีความร่วมมือกับสถานศึกษาทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ

2.2.5. W12 การอำนวยความสะดวกต่อการทำงาน

2.2.6. W15 ขาดการประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนในด้านกิจกรรมหรือการแข่งขัน เมื่อนักเรียนได้รับ รางวัลหรือทาประโยชน์ให้กับโรงเรียน ควรให้ บุคลากรภายนอกได้รับทราบ

2.2.7. W16 การสานต่องานของผู้บริหารเมื่อหมดวาระ

2.2.8. W19 การสั่งงานที่ข้ามขั้นตอนไม่ผ่านตามลาดับที่ควระทำ และบางขั้นตอนมีความล่าช้า

2.2.9. W20 การศึกษาต่อและพัฒนาความรู้ด้านการปฏิบัติการวิจัย ยังได้รับการสนับสนุนอยู่น้อยมาก และยังขาดความเข้าใจในการทำวิจัย

2.2.10. อุปกรณ์ในบางรายวิชาไม่เพียงพอต่อการใช้สอน

2.2.11. ความห่างระหว่างวัยของบุลคลากรทำให้มีช่องว่างในความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร

2.2.12. บุคลาการบางท่านไม่สามารถใช้เทคโนโลยีได้

2.2.13. นักเรียนไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี ปัจจัยภายนอก

2.2.14. ยากต่อการสรรหาบุคลากรที่จบตรงตามสาขาวิชา และส่วนใหญ่จะเปลี่ยนบุคลากรใหม่ทุกปี การสอนจึงไม่ต่อเนื่อง

2.2.15. เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก สิ่งอำนวยความต่างๆ ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์

2.2.16. จำนวนนักเรียนมากเกินจำนวนอุปกรณ์ที่มี

2.2.17. ครูผู้สอนวิชาอื่นๆไม่สามารถใช้เทคโนโลยีในการสอนได้

2.2.18. แหล่งเรียนรู้ทางเทคโนโลยีของโรงเรียนไม่เอื้อต่อการเรียนรู้

2.2.19. ไม่มีความร่วมมือกับสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา

3. สมาชิก

3.1. กริชนาฏ สมพงษ์

3.2. จักรพันธ์ แก้วพันธ์

3.3. อัยลัดดา ตองอ่อน

3.4. จุรีพร นิลแก้ว

3.5. ณัฏญา ธรรมสมพงษ์