1. Antifungal Drugs ยาต้านเชื้อรา
1.1. Systemic antifungal Agent : ยารับประทาน
1.1.1. Nystatin จากแบคทีเรียที่มีชื่อว่า Streptomyces noursei ยาน้ำแขวนตะกอนไนสแตติน ออกฤทธิ์โดย ตัวยาจะเข้าจับกับผนังเซลล์ของเชื้อราโดยรบกวนการส่งผ่านของสารเคมี ทำให้เชื้อราหยุดการเจริญเติบโตและตายลงในที่สุด
1.1.2. Amphotericin B ออกฤทธิ์จับเข้ากับผนังเซลล์ของเชื้อราในส่วนที่เรียกว่า เออร์โกสเตอรอลทำมห้ผนังเซลล์ของเชื้อรารั่วและเชื้อราตายลงในที่สุด
1.2. Topical antifungal agent : ยาภายนอก
1.2.1. Whitifield oinment รักษาอาการติดเชื้อราตามผิวหนัง เช่น กลาก น้ำกัดเท้า มีส่วนประกอบ คือ กรดเบนโซอิก 6 % กับ กรดซาลิโซลิก 3 % ส่วนที่ใช้เป็นเนื้อขึ้ผึ้ง การออกฤทธิ์ เบนโซอิกจะยับยั้งและหยุดการเจริญเติบโตของเชื้อรา ส่วนกรดซาลิโซลิกจะเร่งการหลุดลอกของผิวหน้าที่ทายาหรือที่มีเชื้อราให้หลุดลอกออกไป
1.2.2. Undecylenic ac เมื่ออยู่ในรูปเกลือจะเรียกว่า Undecylenates รักษาอาการติดเชื้อราทางผิวหนังเช่น โรคน้ำกัดเท้า กลาก เกลื้อน
1.2.3. Imidazole ยาต้านเชื้อราจะออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ในตัวเชื้อราซึ่งเอนไซม์นี้จะช่วยสร้างสารที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของเยื่อหุ้มเซลล์เชื้อราเรียกว่า Ergosterol ทำให้เชื้อราแตกออกและตายลงในที่สุด
1.2.4. Ciclopirox เป็นยาต้านเชื้อราที่บริเวณผิวหนัง ยานี้ไม่เหมาที่จะใช้กับตา จมูก ปาก หรือ บริเวณช่องคลอด สตรีที่ให้นมบุตรและสตรีตั้งครรภ์ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยาเสมอ
2. Antituberculosis and Leprosy Drugs ยารักษาวัณโรคและโรคเรื้อน
2.1. เรื้อน(Leprosy) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycrobacterium leprae กลุ่มเดียวกับแบคทีเรียที่ทำให้เกิดวัณโรค
2.1.1. อาการ : กลุ่มปุ่มหรือก้อนเนื้อเฉพาะเรียกว่า Lepromatous leprosy : กลุ่มปุ่มเนื้อเรียกว่า Tuberculoid leprosy : กลุ่มอาการก้ำกึ่ง
2.1.2. Clofazimine : เป็นสารที่ละลายได้ดีในไขมันใช้ร่วมกับยา Rifampicin และยา Dapsone เพื่อรักษาโรคเรื้อน ออกฤทธิ์โดยยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ตัวยารวมตัวกับสารพันธุกรรม(DNA) ทำให้ตายลงในที่สุด : การใช้ยาร่วมกับยารักษาวัณโรคเช่น Bedaquiline สามารถเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
2.2. วัณโรค(Tuberculosis) เกิดจากการติดเชื้อ Mycobacterium Tuberculosis
2.2.1. ยาที่ใช้เป็นอันดับแรก
2.2.1.1. ชนิดฉีด
2.2.1.1.1. Streptomycin
2.2.1.2. ชนิดรับประทาน
2.2.1.2.1. Isoniazid (INH)
2.2.1.2.2. Rifampicin (RMP)
2.2.1.2.3. Ethambutol (EMB)
2.2.1.2.4. Pyrazinamind (PZA)
2.2.2. ยาที่ใช้เป็นอันดับสอง
3. การออกฤทธิ์
3.1. ฆ่าเชื้อ
3.2. ยับยั้ง
4. Tetracycline
4.1. แบ่งการออกฤทธิ์ 3 ชนิด 1.Short-acting 2.Intermediate-acting 3.Long-acting
4.2. ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนและสารตั้งต้นทางพันธุกรรมของเชื้อแบคทีเรียหยุดการเจริญเติบโต มีทั้ง ยาขี้ผึ้ง ยาเม็ด ยาแคปซูล
5. Chloramphenicol
5.1. เป็นยาที่แยกเชื้อมาจาก Streptomyces venezuelae ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน ที่เป็นตัวตั้งจ้นของสารพันธุกรรมที่เรียกว่า ไรโบโซม ทำให้แบคทีเรียไม่สามารถเจริญเติบโต
5.2. การใช้ร่วมกับวิตามินบี 12 และธาตุเหล็กจะทำให้ประสิทธิผลลดลง
6. Aminoglycoside Antibiotica and Polymyxins พบจากรา Streptomyces spp. ออกฤทธิ์กับแบคทีเรียกลุ่มแกรมลบ โครงสร้างประกอบด้วย Amino sugar ตั้งแต่ 2 โมเลกุล ต่อกับ Aminocyciltol ซึ่งมี 2 ชนิด Streptodine 2-deoxystreptomine
6.1. การดื้อยา
6.1.1. การสร้างเอนไซม์ขึ้นมาทำลายยา , การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งยาที่ออกฤทธิ์ , การลดระดับภายในเซลล์
6.2. แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย 1.แบ่งตามชื่อของแบคทีเรียจำพวก Streptomyces 2. แบ่งตามชื่อสกุลของแบคทีเรียจำพวก Micromonospora 3.เป็นอนุพันธุ์ถัดมาจากกลุ่มที่ 1, 2 เช่น Arbekacin
7. Antimicrobial Drugs ยาต้านจุลชีพ
7.1. ขอบเขตการออกฤทธิ์
7.1.1. narrow spectrum (แคบ)
7.1.1.1. penicilin
7.1.1.2. aminoglycoside
7.1.2. medium spectrum (ปานกลาง)
7.1.2.1. sulfanilamides
7.1.3. Broad spectrum (กว้าง)
7.1.3.1. chloramphenicol
7.1.3.2. Tetracycline
7.2. กลไกการออกฤทธิ์
7.2.1. ขัดขวาง
7.2.1.1. ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรียโดยขัดขวางการสร้าง peptidoglycan ทำให้เซลล์แตกและตาย (Bacteriostatic) ยา เช่น Penicilin Cephalosporin Bacitracin และ Vancomycin
7.2.2. เปลี่ยนแปลงการเข้าออกสาร
7.2.2.1. ทำลายเยื่อหุ้มเซลล์ ทำให้การออกเข้าสารผิดปกติ แบคทีเรียจึงตายในที่สุด (Bacteriostatic) ยา เช่น Amphotericin B Nystatin และ Polymyxin
7.2.3. ยับยั้งการสร้างโปรตีน
7.2.3.1. มีผลทำให้แบคทีเรียหยุดการเจริญเติบโตและหยุดการแบ่งตัว แต่ยังไม่จายในทันที ถ้าผู้ป่วยใช้ยาในกลุ่มนี้มีภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงก็จะกำจัดออกไม่ได้ (Bacteriostatic) ยา เช่น Aminoglycoside Tetracyline Chloramphenicol Erythromycin และ Lincomycin
7.2.4. ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
7.2.4.1. สารบางอย่างเข้าไปยับยั้งการสังเคราะห์ DNA และ RNA ขัดขวางการสร้างหน่วยพื้นฐานของกรดนิวคลีอิกคือพิวรีน และพิริมิดีน
7.2.4.1.1. ยับยั้งการสร้าง DNA แทรกตัวไปในสายคู่บิดเกลียวของ DNA ทำให้โครงสร้างบิดเบี้ยวไป ยา เช่น Chloroquine และ Actinomycin D
7.2.4.1.2. ขัดขวางการทำงานของ DNA จับกับ DNA-depentdent และ RNA-polymerase ทำให้แบคทีเรียไม่สามารถสร้าง RNA ได้ ยา เช่น Quinolones และ Metronidazole
7.2.5. ออกฤทธิ์รบกวนกระบวนการเมทาบอลิซึมของเซลล์
7.2.5.1. การสังเคราะห์กรดโฟลิกจะต้องใช้กรดอะมิโนเบนโซอิก สารนี้มีโครงสร้างคล้าย Sulfanilamide ดังนั้นการใช้ Sulfanilamide แย่งทำปฏิกิริยาแทนกรดพาราอะมิโนเบนโซอิก ทำให้การสังเคราะห์กรดโฟลิกหยุดชะงัก โครงสร้างคล้ายกัน ยับยั้งเมตาบอลิซึมช่วยทำลายจุลินทรีย์ได้
8. Antiviral Drugs ยาต้านไวรัส
8.1. รักษาการติดเชื้อ(Human immunodeficiency virus , HIV)
8.2. รักษาการติดเชื้อ (Cytomegalovirus or CMV)
8.3. รักษาการติดเชื้อ(Virus Hepatitis)
8.3.1. Interferon หรือ IFN โปรตีนที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเพื่อกำจัดเชื้อโรคใช้ฆ่าไวรัสและควบคุมระดับภูมิคุ้มกันต้านทานฌรคของผู้ป่วย ยับยั้งไวรัส โดยยาจะจับกับตัวที่รับที่จำเพาะบนผิวเซลล์ไวรัส
8.4. รักษาการติดเชื้อ(Influenza virus)
8.4.1. Oseltamivir ยับยั้งการทำงานของ สารเคมีในตัวไวรัสที่เรียกว่า เอนไซม์ ส่งผลให้การยึดเกาะของตัวไวรัส กับเซลล์ของร่างกายมนุษย์ทำงานได้ยากขึ้น
8.5. รักษาการติดเชื้อ (Herpes simplex virus)
8.5.1. Acyclovir ใช้ต้านไวรัสก่อให้เกิดโรคเริม โรคงูสวัด โรคอีสุกอีใส ยับยั้งการแพร่เชื้อไวรัส โดยรบกวนการสร้างและการสังเคราะห์ DNA ทำให้ไวรัสไม่สามารถแพร่พันธุ์ได้จึงทำให้อาการของโรคบรรเทาลง
9. penicilin สังเคราะห์ได้จากต้นกำเนิดของเชื้อราที่มีชื่อว่า penicilinium notaum
9.1. กลไกการออกฤทธิ์
9.1.1. ยับยั้งการสร้าง peptidoglycan ทำให้การสร้างผนังเซลล์แบคทีเรียหยุดทำงานทำให้ไม่สามารถเจริญเติบโตได้
9.2. ประสิทธิภาพในการต้านจุลชีพ
9.2.1. จับกับเอนไซม์
9.2.2. ซึมเข้าสู่เซลล์
9.2.3. B-lactamase
9.3. จำแนกกลุ่ม
9.3.1. Nutural penicilin
9.3.1.1. Penicilin G
9.3.1.1.1. ฉีดเท่านั้นอาจใช้ยาร่วมกับ Probenecid รักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย streptococci เมื่อใช้ร่วมกับยาคุมกำเนิดที่มีส่วนประกอบ Ethiny Estradio จะทำให้ยามีประสิทธิภาพลดลง
9.3.1.2. Penicilin V
9.3.1.2.1. สามารถดูดซึมจากระบบทางเดินอาหารได้ร้อยละ 60 ทานก่อนอาหารเวลาท้องว่าง 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง ร่างกายสามารถกำจัดยาครั้งหนึ่งโดยใช้เวลา 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง ออกจากกระแสเลือดและผ่านทิ้งไปกับปัสสาวะ
9.3.2. Penicilinase-resistant Penicilin
9.3.3. Aminopenicilin
9.3.3.1. ยานี้จะใช้ในการรักษาอาการดื้อยาของเชื้อ staphylococci หรือ ออกซิลิน พัฒนาขึ้นมาจากเชื้อ staphylococcus ดื้อต่อ penicilin กลุ่มแรก ทนต่อ Penicilinase มีสร้างเชื้อโดย staph
9.3.3.2. รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบใช้รักษาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
9.3.3.2.1. Ampicilin&Amoxycilin
9.3.3.2.2. Bacampicilin
9.3.4. Antipseudomonal Penicilin
9.3.4.1. ออกฤทธิ์กว้างมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแกรมลบและต้านเชื้อ Pseudomonas
9.3.4.1.1. Piperacilin
9.3.4.1.2. Ticarcilin
9.3.5. เป็นยาฉีดจะนำมารักษาอาการป่วยจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่ใช้ยาปฏิชีวนะตัวอื่นแล้วไม่ได้ผล
9.3.6. Aminopenicilin B-lactamate antibiotics
9.3.6.1. Imipenem
9.3.6.2. Carbenicilin
9.3.6.2.1. ใช้ยาร่วมกับ Tetracycline ประสิทธิภาพจะด้อยลง
9.3.6.3. Cephalosporin แหล่งกำเนิดมาจากเชื้อ Cephalosporium spp. มีฤทธิ์ต่อต้านเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและลบ
9.3.6.3.1. รุ่น 1 Cefazolin เป็นยาที่ใช้กันมากที่สุด
9.3.6.3.2. รุ่น 2
9.3.6.3.3. รุ่น 3
9.3.6.3.4. รุ่น 4
9.3.6.3.5. การดื้อยา
10. Sulfonamides
10.1. ถูกสังเคราะห์เพื่อนำมากำจัดเชื้อแบคทีเรียและนำมาผลิตยารักษาโรคต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน ยาขับปัสสาวะ
11. ยากลุ่ม Quinolone
11.1. Fluoroquinlone
11.1.1. ยาต้านแบคทีเรียเช่น norfloxacin เป็นอนุพันธ์ของ 4Quinolone มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบ จึงเกดการชะลอการเจริญเติบโตและตายลงในที่สุด
11.2. Norfloxacin
11.2.1. ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานสารเคมีบางตัว เช่น สารดีเอ็นเอไจเรส ส่งผลต่อการขยายพันธุ์ของแบคทีเรีย มียาทั้งรูปแบบยาเม็ด ยาแคปซูล ยาน้ำเชื่อม ยาน้ำแขวนลอย
11.3. Ofloxacin
11.3.1. ออกฤทธิ์ยับยั้งและหยุดการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยนำมาใช้รักษาโรคติดเชื้อที่อวัยวะต่างๆ เช่น การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ ติดเชื้อที่ผิวหนัง