ผู้นำทางการพยาบาล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ผู้นำทางการพยาบาล by Mind Map: ผู้นำทางการพยาบาล

1. บทบาท อํานาจหน้าที่และความ รับผิดชอบ ของผูบรหารการพยาบาล

1.1. คุณสมบัติของผู้บริหารการ พยาบาล

1.1.1. ด้านวิชาชีพการพยาบาล

1.1.1.1. ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง

1.1.1.2. มีความรู้ด้านวิชาชีพ

1.1.1.2.1. การศึกษาระดับปริญญาตรีทางการ พยาบาลขึ้นไป

1.1.1.2.2. บางสถาบันให้พิจารณาการศึกษาระดับ ปริญญาโท

1.1.1.3. มีความสามารถ ทักษะปฏิบัติ หรือประสบการณ์ทางการ พยาบาลมากกว่า 4-5 ปี

1.1.1.4. ได้รับการศึกษา อบรมด้านการบริหารการพยาบาล /บริหาร หน่วยงาน

1.1.2. ด้านทั่วไป

1.1.2.1. มีภาวะผู้นํา

1.1.2.2. มีคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน

1.1.2.3. มีคุณสมบัติผู้นํา

1.1.3. ด้านการบริหารจัดการ

1.1.3.1. มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการ / การ ปกครองบังคับบัญชา

1.1.3.2. มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

1.1.3.3. มีความรู้ความเข้าใจในนโยบายของสถาบัน องค์การหลัก เช่น

1.1.3.3.1. โรงพยาบาล

1.1.3.3.2. กระทรวงรวมทั้งแผนพัฒนา เศรษฐกิจแห่งชาติ

1.1.3.4. มีความสามารถในการจัดแผนงาน การควบคุมตรวจสอบ การให้คําปรึกษา

1.1.3.5. มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร การนิเทศ และการ ประสานงาน

1.2. ระดับผู้บริหารการพยาบาล

1.2.1. ระดับสูง คือหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล หรือหัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาล

1.2.2. ระดับกลาง คือ รองผู้บริหารการ พยาบาล ผู้ตรวจการพยาบาล /ผู้นิเทศทางการพยาบาล

1.2.3. ระดับต้น คือหัวหน้าหอผู้ป่วย / หัวหน้างาน

1.3. บทบาทของผู้บริหาร

1.3.1. กลุ่มที่ 1 บทบาทด้านสัมพันธภาพ (Interpersonal roles)

1.3.1.1. แสดงถึงความสัมพันธ์ของผู้บริหารการ พยาบาลกับผู้ร่วมงานในลักษณะต่างๆ กัน ประกอบด้วย

1.3.1.1.1. หัวหน้างาน (Figure Head)

1.3.1.1.2. ผู้นํา (Leader)

1.3.1.1.3. ผู้ประสานงาน(Coordinator/Liason)

1.3.2. กลุ่มที่ 2 บทบาทด้านการสื่อข้อมูล (informational roles)

1.3.2.1. เป็นบทบาทที่เกี่ยวข้องกับการจัดเตรียมข้อมูล การวิเคราะห์เผยแพร่และให้ข้อมูลแก่บุคคล อื่น ประกอบด้วย

1.3.2.1.1. ผู้รับและตรวจสอบข้อมูล (Monitor)

1.3.2.1.2. ผู้เผยแพร่ข้อมูล ในหน่วยงาน (Disseminator)

1.3.2.1.3. ผู้ให้ข้อมูล (Spokerman)

1.3.2.1.4. ผู้วิจัย (Researcher)

1.3.3. กลุ่มที่ 3 บทบาทด้านการตัดสินใจ (Decisional roles)

1.3.3.1. ผู้นําการเปลี่ยนแปลง (Change agency)

1.3.3.2. ผู้จัดการต่อปัญหา (Disturbance handler)

1.3.3.3. ผู้จัดสรรทรัพยากร/อํานวยความสะดวก (Resource allocator)

1.3.3.4. ผู้ริเริ่มสร้างสรรค์(Entrepreneur)

1.3.3.5. ผู้ริเริ่มสร้างสรรค์(Entrepreneur)

1.3.3.6. ผู้ต่อรอง (Negotiator)

1.4. หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารการพยาบาล (Responsibility)

1.4.1. สร้างปรัชญา วิสัยทัศน์พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของฝ่ายการพยาบาล

1.4.2. สร้างมาตรฐานการพยาบาล

1.4.3. กําหนดนโยบายของการบริการพยาบาล

1.4.4. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร

1.4.5. กําหนดนโยบายและหลักเกณฑ์ในการสรรหา คัดเลือก การเลื่อนขั้น เลื่อนตําแหน่ง การให้พ้นจาก งานของบุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับ

1.4.6. วางแผนจัดบุคลากรทางการพยาบาลในหน่วยงาน ต่างๆ

1.4.7. มอบอํานาจ ความรับผิดชอบ ให้บุคลากรทางการพยาบาลตาม ความเหมาะสม และจัดสายบังคับบัญชา และการติดต่อสื่อสาร

1.4.8. ประเมินผลการปฏิบัติงานการพยาบาล

1.4.9. จัดระบบการบันทึกและการรายงาน

1.4.10. วางแผนและประสานงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาและหน่วยงาน อื่นๆเพื่อให้การบริการผู้ป่วยสอดคล้องกัน

1.4.11. ริเริ่ม ส่งเสริม ร่วมมือในการทําวิจัยทางการพยาบาล และ สนับสนุนการนําผลการวิจัยมาใช้

1.4.12. ให้ความร่วมมือในกิจกรรมที่มีผลต่อการพัฒนาวิชาชีพการ พยาบาล

1.4.13. ส่งเสริม สนับสนุ่น กระตุ้นให้พยาบาลได้ร่วมกิจกรรม

1.5. ความรับผิดชอบของผู้บริหารการพยาบาล

1.5.1. ความรับผิดชอบต่อตนเอง ในฐานะพยาบาลวิชาชีพ และผู้บริหารการพยาบาล

1.5.2. ความรับผิดชอบต่อสมาชิกในองค์การ

1.5.3. ความรับผิดชอบต่อหน่วยงาน/สถาบัน

1.5.4. ความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ ซึ่งเกี่ยวข้องทั้งการให้บริการในหน่วยงาน และองค์กรวิชาชีพ

1.6. บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วย

1.6.1. บทบาทด้านการแก้ไข (Remidial role)

1.6.2. บทบาทด้านการธํารงรักษา (Maintaining role)

1.6.3. บทบาทการริเริ่มสร้างสรรค์(Innovative role)

1.6.4. บทบาทการตัดสินใจ (Decisional roles)

1.6.5. บทบาทด้านการปฏิสัมพนธ์(Interpersonal

1.7. บทบาทหน้าที่การเป็นหัวหน้าเวร (Incharge)

1.7.1. ศึกษาผู้ป่วยทุกรายที่อยู่ในความรับผิดชอบ

1.7.2. มอบหมายงานให้ทีมการพยาบาล ล่วงหน้า 1 วัน ก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติงาน

1.7.3. เขียนแผนการปฏิบัติงานในบทบาทหัวหน้าเวร ส่งอาจารย์พี่เลี้ยงก่อนเวลา08.00 น.ในวันปฏิบัติ งาน

1.7.4. ตรวจสภาพแวดล้อม ความเรียบร้อยของสถาน ที่ อุปกรณ์ต่างๆ ผู้ป่วย และบุคลากรที่ปฏิบัติงาน เวร หากพบลา-ขาดให้แก้ไขปรับปรุงการ มอบหมายงานก่อนรับเวร และOKของในรถ Emergency

1.8. บทบทหน้าที่การเป็นสมาชิกทีม (Member)

1.8.1. รับมอบหมายงานจากหัวหน้าทีมการพยาบาล

1.8.2. วางแผนการปฏิบัติการพยาบาลการดูแลผู้ป่วย โดยใช้กระบวนการพยาบาล และมีการปรับปรุง แก้ไขตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยและแผนการ ดูแลของสหวิชาชีพ

1.8.3. ร่วม Pre- conference และ Post Conference โดยนําเสนอข้อมูลการดูแลในผู้ป่วย Case ที่ตนเองรับผิดชอบ

1.8.4. ให้การดูแลผู้ป่วยตลอดในเวรที่ได้รับมอบหมาย

1.8.5. เป็นผู้ประสานและติดตามผลลัพธ์เกี่ยวกับความเรียบร้อย

2. การนํากระบวนการบริหารมาใช้ในการพยาบาล PSDCoRB

2.1. สนับสนุน และส่งเสริมให้มีการนํากระบวนการ พยาบาลไปใช้ในการปฏิบัติ

2.2. สนับสนุน ประสานงาน ให้แต่ละหน่วยงาน บริการมีความรับผิดชอบ กําหนดนโยบาย

2.3. ปฏิบัติท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานของวิชาชีพและ ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ

2.4. กําหนดเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการพยาบาล และเป้าหมายการพัฒนางานให้บรรลุเกณฑ์ชี้วัดในแต่ละปี

2.5. สนับสนุน ส่งเสริมให้บุคลากรทางการพยาบาลแต่ละ หน่วยงานมีความรู้ ความสามารถ และให้บริการได้อย่างมีคุณภาพ

2.5.1. การใช้มาตรฐานการพยาบาล

2.5.2. การใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติการพยาบาล

2.5.3. การทํางานเป็นทีม ทั้งในวิชาชีพ และระหว่างสาขา วิชาชีพ

2.5.4. การพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติการพยาบาล

2.5.5. กําหนดระบบการนิเทศ สอนงาน ติดตาม และประเมินผลการ ปฏิบัติงาน

2.5.6. ตรวจสอบคุณภาพ และเฝ้าระวังการปฏิบัติการพยาบาลของ แต่ละหน่วยงาน

2.5.6.1. การสร้างสัมพันธภาพ การให้ข้อมูล และการพิทักษ์สิทธิของ ผู้รับบริการ

2.5.6.2. การป้องกันภาวะแทรกซ้อนของผู้รับบริการ

2.5.6.3. การพยาบาลที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการ

2.5.6.4. การปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลที่ถูกต้องตามหลักการป้องกัน

3. ความสําคัญของการบริหารการ พยาบาล

3.1. การบริการที่มีคุณภาพต้องอาศัย ทักษะการจัดการและภาวะผู้นํา

3.2. การบริการพยาบาลก้าวหน้าได้ด้วย ภาวะผู้นําทางการพยาบาลในคลินิก

3.3. การสร้างความก่าวหน้าของวิชาชีพ จะต้องมีการสร้างความก้าวหน้าในการบริหารการพยาบาล

4. ความก้าวหน้าทางการบริหารการ พยาบาล

4.1. 1. การบริหารการพยาบาลมีความเป็นอิสระ มากขึ้น

4.2. 2. มีการกําหนดตําแหน่งหน้าที่ ที่มุ่งเน้น ความชํานาญ หรือสมรรถภาพการพยาบาล อย่างเด่นชัด

4.3. 3.ให้ความสําคัญกับการเตรียมผู้บริหารการพยาบาลมากขึ้นและเริ่มมีรูปแบบในการเตรียมผู้บริหาร