Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปรัชญา (By Phannavich N.) by Mind Map: ปรัชญา  (By Phannavich N.)

1. ประเภท

1.1. ปรัชญาประยุกต์

1.1.1. ปรัชญาวิทยาศาสตร์

1.1.2. ปรัชญาคณิตศาสตร์

1.1.3. ปรัชญาการเมือง

1.1.4. ปรัชญาศึกษา

1.1.5. ปรัชญาสังคม

1.1.6. ปรัชญาเศรษฐศาสตร์

1.1.7. ปรัชญาศาสนา

1.2. ปรัชญาบริสุทธิ์

1.2.1. อภิปรัชญา

1.2.1.1. ปัญหาปรัชญา

1.2.1.1.1. เนื้อแท้ของโลกคืออะไร

1.2.1.1.2. อะไรคือสิ่งที่มีอยู่จริง

1.2.1.1.3. ทำไมสิ่งต่างๆ จึงมีอยู่

1.2.1.1.4. พระเจ้ามีอยู่จริงหรือไม่

1.2.1.1.5. จิตและกายสัมพันธ์กันอย่างไร

1.2.1.1.6. เจตน์จำนงเสรีมีอยู่จริงหรือไม่

1.2.1.2. ทฤษฎีอภิปรัชญา

1.2.1.2.1. สสารนิยม

1.2.1.2.2. จิตนิยม

1.2.1.2.3. ธรรมชาตินิยม

1.2.1.2.4. จักรกลนิยม

1.2.1.2.5. อันตนิยม/อันตวิทยา

1.2.1.2.6. นวนิยม

1.2.1.2.7. วัตถุนิยม

1.2.1.2.8. ทวินิยม

1.2.1.2.9. พหุนิยม

1.2.1.2.10. ลัทธิเหตุวิสัย

1.2.1.2.11. ลัทธิอิสรวิสัย

1.2.1.2.12. ลัทธิธรรมชาติวิสัย

1.2.1.2.13. อัตถิภาวนิยม

1.2.2. ญาณวิทยา

1.2.2.1. ปัญหาปรัชญา

1.2.2.1.1. ความรู้คืออะไร

1.2.2.1.2. อะไรเป็นบ่อเกิดความรู้

1.2.2.1.3. เรารู้สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างไร

1.2.2.1.4. เราแน่ใจได้อย่างไรว่าเรารู้

1.2.2.2. ทฤษฎีปรัชญา

1.2.2.2.1. กลุุ่มเหตุผลนิยม

1.2.2.2.2. กลุ่มประสบการณ์นิยม

1.2.2.2.3. กลุ่มปฏิบัตินิยม

1.2.2.2.4. กลุ่มอัชฌัตติกญาณนิยม

1.2.2.2.5. กลุ่มอำนาจนิยม

1.2.2.2.6. อัตถิภาวนิยม

1.2.2.2.7. วิมุตตินิยมหรือกังขานิยม

1.2.2.2.8. สตรีนิยม

1.2.2.2.9. ทฤษฎีความรู้ทางวิทยาศาสตร์

1.2.2.2.10. ทฤษฎีปรัชญาวิเคราะห์

1.2.2.2.11. ทฤษฎีวิวรณ์หรือการเปิดเผยความจริง

1.2.2.2.12. พุทธศาสนานิกายเซ็น

1.2.2.2.13. โพสต์โมเดิร์นและดีคอนสตรัคชั่น

1.2.3. คุณวิทยา

1.2.3.1. จริยศาสตร์

1.2.3.1.1. ปัญหาปรัชญา

1.2.3.1.2. ทฤษฎีปรัชญา

1.2.3.1.3. คุณค่าทางจริยศาสตร์

1.2.3.1.4. เกณฑ์ตัดสินจริยธรรม

1.2.3.2. สุนทรียศาสตร์

1.2.3.2.1. ปัญหาปรัชญา

1.2.3.2.2. ทัศนะและทฤษฎีปรัชญา

1.2.4. ตรรกะวิทยา

1.2.4.1. ประเภทตรรกวิทยา

1.2.4.1.1. ตรรกวิทยาดั้งเดิม

1.2.4.1.2. ตรรกวิทยาสัญลักษณ์

1.2.4.2. เนื้อหาตรรกวิทยา

1.2.4.2.1. ตรรกวิทยาว่าด้วยญัติ

1.2.4.2.2. ตรรกวิทยาว่าด้วยภาคขยาย

1.2.4.2.3. วิธีการพิสูจน์โดยสัญลักษณ์

1.2.4.3. ประโยคตรรกวิทยา

1.2.4.3.1. เชิงเดี่ยว

1.2.4.3.2. เชิงซ้อน

2. ประโยชน์ของปรัชญา

2.1. ปัญหาพื้นฐานของมนุษย์

2.2. มุมมองเหตุและผล

2.3. สะท้อนแนวคิดมุมมองที่มีต่อความเชื่อและทฤษฎี

2.4. วิเคราะห์ความหมาย ข้อความ ประโยคตามหลักตรรกศาสตร์

3. วิธีการทางปรัชญา

3.1. วิธีการทั่วไป

3.1.1. ตั้งข้อสงสัย

3.1.2. กำหนดปัญหาและอธิบายให้ชัดเจน

3.1.3. เสนอแนะวิธีแก้ปัญหา

3.1.4. อ้างเหตุและผล

3.1.5. เปิดโอกาสให้วิจารณ์

3.2. วิธีการวิภาษวิธี

3.2.1. โสกราตีส

3.2.1.1. สงสัย

3.2.1.2. สนทนา

3.2.1.3. หานิยามใหม่

3.2.2. เฮเกล

3.2.2.1. ภาวะพื้นฐาน

3.2.2.2. ภาวะแย้ง

3.2.2.3. ภาวะสังเคราะห์

3.2.3. คาน มาร์กซ์

4. เนื้อหาและขอบเขต

4.1. ความเป็นจริง (Reality)

4.2. ความเป็นมนุษย์ (Personalhood)

4.3. เจตจำนงเสรี (Free Will)

4.4. พลังของจิตไร้สำนึก (Unconscious mind)

4.5. ความรู้ (Knowledge)

4.6. พระเจ้า (God)

5. ลักษณะของปรัชญา

5.1. ปรัชญามีลักษณะวิพากษ์

5.2. ปรัชญามีลักษณะเป็นปัญหาพื้นฐาน

5.3. ปรัชญาแสวงหาโลกทัศน์

6. วิวัฒนาการของปรัชญา

6.1. ปรัชญาตะวันตก

6.1.1. ปรัชญาดึกดำบรรพ์

6.1.1.1. ก่อนเริ่มมีอารยธรรมโบราณ คาดว่าเป็นเรื่องภัยธรรมชาติ

6.1.2. ปรัชญากรีกโบราณ

6.1.2.1. สมัยเริ่มต้น

6.1.2.1.1. มนุษย์ใช้เหตุผลอธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาติโดยไม่ต้องอ้างเทพเจ้า

6.1.2.1.2. สารเบื้องต้นหรือปฐมธาตุ คือ น้ำ

6.1.2.2. สมัยรุ่งเรือง

6.1.2.2.1. พวกโซฟิส เชื่อว่า ผัสสะ 5 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) เป็นบ่อเกิดของความรู้

6.1.2.2.2. โซเครตีส เพลโต และอริสโตเติล เชื่อว่า มนุษย์ใช้สมรรถภาพด้านปัญญาและเหตุผลในการรู้ความจริงเชิงปรนัย

6.1.2.3. สมัยเสื่อม

6.1.2.3.1. ความสุขจะพบในโลกหน้าที่เป็นอาณาจักรของพระเจ้า

6.1.2.3.2. ความสุขในมีอยู่โลกนี้ไม่ต้องรอโลกหน้า

6.1.3. ปรัชญาตะวันตกยุคกลาง

6.1.3.1. เซนต์ ออกัสติน(St. Augustine) และเซนต์ โธมัส อควินัส (St. Thomas Aquinas) รับอิทธิพลจากคำสอนศาสนาคริสต์ ฉายา "สาวใช้ของศาสนาหรือสาวใช้ของเทววิทยา"

6.1.4. ปรัชญาตะวันตกยุคใหม่

6.1.4.1. กลุ่มเหตุผลนิยม (Rationalism) เดการ์ต,สปิโนซา และไลบ์นิซ เชื่อว่าวิธีการที่ถูกต้องคือ การใช้เหตุผล คิดแบบคณิตศาสตร์

6.1.4.2. กลุ่มประสบการณ์นิยมหรือประจักษนิยม (Empiricism) ] ล็อค, ฮูม และเบิร์คเลย์ เชื่อว่าวิธีที่ถูกต้องที่สุด คือ คิดแบบยึดมั่นในประสบการณ์

6.2. ปรัชญาตะวันออกใกล้

6.2.1. ปรัชญาดึกดำบรรพ์

6.2.1.1. ก่อนเริ่มมีอารยธรรมโบราณ ปัญหาเรื่องภัยธรรมชาติ

6.2.2. ปรัชญายุคโบราณ

6.2.2.1. ใช้เหตุผลอธิบายกฎธรรมชาติ

6.2.3. ปรัชญาเริ่มต้นยุคคริสตกาลถึงปัจจุบัน

6.2.3.1. รวมเข้ากับปรัชญาตะวันตก

6.3. ปรัชญาตะวันออก

6.3.1. ปรัชญาอินเดีย

6.3.1.1. ปรัชญาดึกดำบรรพ์

6.3.1.2. ปรัชญาอินเดียยุคโบราณ

6.3.1.2.1. ปรัชญาพระเวท

6.3.1.2.2. ปรัชญามหากาพย์

6.3.1.3. ปรัชญาอินเดียยุคกลางหรือสมัยสำนักปรัชญา

6.3.1.3.1. สายนาสติกะ

6.3.1.3.2. สายอาสติกะ

6.3.1.4. ปรัชญาอินเดียยุคใหม่หรือยุคปัจจุบัน

6.3.1.4.1. มหาตมะ คานธี

6.3.1.4.2. รพินทรนาถ ตากอร์

6.3.2. ปรัชญาจีน

6.3.2.1. ปรัชญาดึกดำบรรพ์

6.3.2.2. ปรัชญาจีนยุคโบราณหรือยุค 2 ลัทธิ

6.3.2.2.1. ลัทธิขงจื๊อ

6.3.2.2.2. ลัทธิเต๋าหรือลัทธิเล่าจื๊อ

6.3.2.3. ปรัชญาจีนยุคกลาง (ลัทธิเจ้าแม่กวนอิม/พระโพธิสัตว์)

6.3.2.4. ปรัชญาจีนยุคใหม่ (เหมา เจ๋อตุง)