1. ลักษณะสำคัญของภาษาไทย
1.1. คำไทยแท้ส่วนใหญ่มีพยางค์เดียว
1.1.1. มีความหมายสมบูรณ์ในตนเอง
1.1.1.1. เช่น คำว่า พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย เป็นต้น
1.1.1.2. เช่น คำว่า เสื้อ ผ้า ถ้วย ชาม เป็นต้น
1.1.2. มักเป็นคำที่ใช้เรียกสิ่งต่างๆตลอดจนกิริยาอาการของมนุษย์
1.1.2.1. เช่นคำว่า นอน
1.1.2.2. เช่นคำว่า วิ่ง
1.2. ภาษาไทยเป็นภาษาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำศัพท์
1.2.1. แต่ละคำมีความหมายสมบรูณ์ในตัวเอง
1.2.1.1. -
1.2.1.2. -
1.2.2. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์ไปตามเพศ พจน์ กาล
1.3. ภาษาไทยสะกดตรงตามมาตรา
1.3.1. คำไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
1.3.1.1. เช่น แม่กกใช้ ก เป็นตัวสะกดคำที่สะกดด้วย ก มักเป็นคำไทยแท้
1.3.1.1.1. เช่น มัก ชัก นัก เป็นต้น
1.3.2. คำในภาษาไทยบางคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
1.3.2.1. เช่น ตัวสะกดแม่กดนอกจากใช้ ด สะกดแล้วยังใช้อักษรอื่นสะกด
1.3.2.1.1. เช่น ดุจ รส บท เป็นต้น
1.4. ภาษาไทยมีการเรียงคำในประโยค
1.4.1. ในระบบไวยากรณ์ภาษาไทยถือว่าการเรียงคำในประโยคมีความสำคัญ
1.4.2. หากเรียงคำในตำแหน่งต่างๆสลับที่กันจะทำให้ความหมายเปลี่ยนไป
1.4.2.1. เพราะคำไทยบางคำมีหลายความหมายและทำหน้าที่ได้หลายหน้าที่
1.4.2.1.1. เช่น คำว่า ขัน
1.5. ภาษาไทยจะวางคำขยายไว้หลังคำที่ถูกขยาย
1.5.1. ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำหากมีคำขยายจะวางอยู่หลังคำและอยู่ติดกับคำที่ถูกขยาย
1.5.1.1. เช่น ร้องร้องเพลงเสียงหวานไพเราะเป็นต้น
1.5.1.2. เช่น แมวนอนใต้โต๊ะทำงานห้องพ่อ
1.6. ภาษาไทยมีคำลักษณนาม
1.6.1. คำที่บอกลักษณะของนามข้างหน้ามักใช้ตามหลังคำวิเศษณ์บอกจำนวน
1.6.1.1. เช่น กระเทียม4กลีบ
1.6.2. ใช้ตามหลังคำนามทั่วไปเพื่อเน้นน้ำหนักและบอกให้ทราบลักษณะของคำนามนั้น
1.6.2.1. เช่น นิยายเรื่องนี้สนุกมาก
1.7. ภาษาไทยมีการสร้างคำขึ้นใหม่
1.7.1. โดยวิธีการประสมคำ การซ้อนคำ การซ้ำคำ การสมาสและการสนธิ
1.7.1.1. การประสมคำ
1.7.1.1.1. คำประสาน
1.7.1.1.2. คำอิสระ+คำอิสระ
1.7.1.2. การซ้อนคำ
1.7.1.2.1. เพื่อเสียง
1.7.1.2.2. เพื่อความหมาย
1.7.1.3. การซ้ำคำ
1.7.1.3.1. เพิ่ม
1.7.1.3.2. ลด
1.7.1.4. การสมาส
1.7.1.4.1. เช่น อุทกภัย
1.7.1.5. การสนธิ
1.7.1.5.1. เช่น สมาคม
1.7.1.6. ศัพท์บัญญัติ
1.7.1.6.1. แฟลต
1.7.1.6.2. คอมพิวเตอร์
1.7.1.7. ทับศัพท์
1.7.1.7.1. ทมิฬ
1.7.1.7.2. เปอร์เซีย
1.7.1.7.3. อาหรับ
1.7.1.7.4. ญี่ปุ่น
1.7.1.7.5. ฝรั่งเศส
1.7.1.7.6. พม่า
1.7.1.7.7. มอญ
1.7.1.7.8. มอญ
1.7.1.8. คำแผลง
1.7.1.8.1. เดิน
1.7.1.8.2. ตรา
1.7.1.8.3. เกิด
1.7.1.8.4. กราบ
1.7.1.8.5. เดิน
1.7.1.8.6. ตรา
1.7.1.8.7. เกิด
1.7.1.8.8. กราบ
1.8. ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์
1.8.1. เสียงวรรณยุกต์ที่แตกต่างกันส่งผลให้ความหมายของคำเปลี่ยนไปทำให้มีคำในภาษาเพิ่มมากขึ้น
1.8.1.1. เช่น
1.8.1.1.1. คา
1.8.1.1.2. ค่า
1.8.1.1.3. ค้า
1.9. ภาษาไทยมีระดับ
1.9.1. มีการใช้คำพูดให้เหมาะสมแก่บุคคลตามกาลเทศะ ระดับฐานะของบุคคลจึงทำให้มีหลายระดับ
1.9.1.1. พิธีการ
1.9.1.2. ทางการ
1.9.1.3. กึ่งทางการ
1.9.1.4. สนทนา
1.9.1.5. กันเอง
1.9.1.6. คำราชาศัพท์
1.9.1.7. พิธีการ
1.9.1.8. ทางการ
1.9.1.9. กึ่งทางการ
1.9.1.10. สนทนา
1.9.1.11. กันเอง
1.9.1.12. คำราชาศัพท์
1.10. ภาษาไทยมีวรรคตอนในการเขียนและจังหวะในการพูด
1.10.1. เพื่อกำหนดความหมายที่ต้องการ
1.10.2. หากแบ่งวรรคผิดหรือพูดจังหวะผิดจะทำให้ความหมายเปลี่ยนไป
1.10.2.1. ไม่เจอกันนานนมโตขึ้นเยอะเลย
1.10.2.2. ไม่เจอกันนานนม โตขึ้นเยอะเลย
1.10.2.3. ไม่เจอกันนานนมโตขึ้นเยอะเลย
1.10.2.4. ไม่เจอกันนานนม โตขึ้นเยอะเลย
2. เสียงในภาษา
2.1. เสียงสระเเละรูปสระ
2.1.1. เสียงสระเดี่ยว 9 คู่ 18 หน่วยเสียง
2.1.1.1. ลิ้นส่วนหน้า
2.1.1.1.1. อิ อี
2.1.1.1.2. เอะ เอ
2.1.1.1.3. แอะ แอ
2.1.1.2. ลิ้นส่วนกลาง
2.1.1.2.1. อึ อือ
2.1.1.2.2. เออะ เออ
2.1.1.2.3. อะ อา
2.1.1.3. ลิ้นส่วนหลัง
2.1.1.3.1. อุ อู
2.1.1.3.2. โอะ โอ
2.1.1.3.3. เอาะ ออ
2.1.2. สระประสม
2.1.2.1. ลิ้นส่วนหน้า
2.1.2.1.1. เอีย
2.1.2.2. ลิ้นส่วนกลาง
2.1.2.2.1. เอือ
2.1.2.3. ลิ้นส่วนหลัง
2.1.2.3.1. อัว
2.2. เสียงพยัญชนะและรูปพยัญชนะ
2.2.1. พยัญชนะมี 44 รูป 21เสียง
2.2.1.1. พยัญชนะต้น
2.2.1.1.1. พยัญชนะต้นเดี่ยว
2.2.1.1.2. พยัญชนะต้นคู่
2.2.1.2. พยัญชนะท้าย(ตัวสะกด)
2.2.1.2.1. มี 8 เสียง
2.3. เสียงวรรณยุกต์และรูปวรรณยุกต์
2.3.1. เสียงวรรณยุกต์
2.3.1.1. ภาษามีวรรณยุกต์ 5 เสียง
2.3.1.1.1. เอก
2.3.1.1.2. โท
2.3.1.1.3. ตรี
2.3.1.1.4. จัตวา
2.3.1.1.5. สามัญ
2.3.1.2. ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์มากมายกลายเป็นคำที่มีความหมายและเป็นพยางค์ที่ไม่มีความหมายเนื่องจากการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์
2.3.1.3. วรรณยุกต์มีเสียงสมบูรณ์จริงเฉพาะตอนพูดแต่ในการเขียนจะเขียนได้ไม่สมบูรณ์
2.3.2. รูปวรรณยุกต์
2.3.2.1. ภาษาไทยมีรูปวรรณยุกต์ 4 รูป
2.3.2.1.1. ่
2.3.2.1.2. ้
2.3.2.1.3. ๊
2.3.2.1.4. ๋
2.3.2.2. คำที่มีพยัญชนะสองตัว
2.3.2.2.1. อักษรควบ
3. ส่วนประกอบของภาษา
3.1. องค์ประกอบของพยางค์
3.1.1. การประสมอักษร 3 ส่วน
3.1.1.1. สระ
3.1.1.2. พยัญชนะ
3.1.1.3. วรรณยุกต์
3.1.2. การประสมอักษร 4 ส่วน
3.1.2.1. สระ
3.1.2.2. พยัญชนะ
3.1.2.3. วรรณยุกต์
3.1.2.4. ตัวสะกด
3.1.3. การประสมอักษร 4 ส่วนพิเศษ
3.1.3.1. สระ
3.1.3.2. พยัญชนะ
3.1.3.3. วรรณยุกต์
3.1.3.4. ตัวการันต์
3.1.4. การประสมอักษร 5 ส่วน
3.1.4.1. สระ
3.1.4.2. พยัญชนะ
3.1.4.3. วรรณยุกต์
3.1.4.4. ตัวสะกด
3.1.4.5. ตัวการันต์
3.2. องค์ประกอบของคำ
3.2.1. คำที่เปล่งออกมามีความหมายจะกี่พยางค์ก็ได้
3.2.2. คำที่ประกอบด้วยพยางค์เดียวเรียกว่าคำพยางค์เดียว
3.2.2.1. เช่น เย็น มา เดิน เป็นต้น
3.2.3. คำที่ประกอบด้วยพยางค์หลายพยางค์เรียกว่าคำหลายพยางค์
3.2.3.1. เช่น ตุ๊กตา อาหาร เป็นต้น