ทฤษฎีความสูงอายุ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ทฤษฎีความสูงอายุ by Mind Map: ทฤษฎีความสูงอายุ

1. ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ

1.1. ทฤษฎีพันธุกรรม

1.1.1. อายุขัยถูกกำหนดด้วยรหัสพันธุกรรม

1.1.1.1. ทฤษฎีการผ่าเหล่า

1.1.1.1.1. เกิดการเร่งทำให้แก่เร็วขึ้น

1.1.1.1.2. DNA เปลี่ยนแปลงเกิดจากรังสีภายนอก

1.1.1.1.3. ไม่สามารถผลิตโปรตีนได้

1.1.1.1.4. Cell บางส่วนทนสภาพไม่ได้ เสื่อมสภาพตายไป

1.1.1.1.5. กลไกการซ่อมแซมทำได้ล่าช้า

1.1.1.2. ทฤษฎีความผิดพลาด

1.1.1.2.1. ความสูงอายุเกิดจากภายในนิวเคลียสของ cell

1.1.1.2.2. พันธุกรรมจะถูกคัดลอกและแปลดดยผ่านกระบวนการหลายขั้นตอน

1.1.1.2.3. รหัสพันธุกรรมจะถูกถ่ายทอดไปยัง Ribosome อาศัย m-RNA

1.1.2. เพศหญิงมีอายุยืนยาวกว่าเพศชาย

1.1.2.1. ชาย = XY

1.1.2.2. หญิง = XX

1.1.3. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมมีผลต่ออายุขัย

1.2. ทฤษฎีที่ไม่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรม

1.2.1. ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง

1.2.1.1. พบการเชื่อมตามขวางมากที่สุดคือ Elastin และ Collagen

1.2.1.1.1. ช่วยพยุง ให้ความแข็งแกร่ง

1.2.1.1.2. มีการเปลี่ยนแปลงและทำให้เสื่อมหน้าที่

1.2.1.1.3. ขาดความยืดหยุ่นและจับตัวกัน

1.2.1.1.4. แตกและฉีกขาดง่าย

1.2.1.2. การพยาบาล

1.2.1.2.1. ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย

1.2.1.2.2. ผิวแห้ง ส่งเสริมให้ทาโลชั่น

1.2.2. ทฤษฎีอนุมูลอิสละ

1.2.2.1. เกิดจาก Metabolism ของร่างกายและรับจากภายนอก

1.2.2.1.1. อาหาร

1.2.2.1.2. รังสี

1.2.2.1.3. บุหรี่

1.2.2.1.4. ความเครียด

1.2.2.1.5. การสัมผัสสารเคมี

1.2.2.1.6. มลภาวะ

1.2.2.2. ความสูงอายุเกิดจากการสะสมอนุมูลอิสละมาก มีฤทธิ์ทำลาย

1.2.2.2.1. ทำปฏิกิริยากับไขมันไม่อิ่มตัวใน cell

1.2.2.2.2. ทำลายอิเล็กตรอนใน cell

1.2.2.2.3. ทำให้ Cell เสียหาย ทำงานผิดปกติ

1.2.2.2.4. กระตุ้นให้ภูมิคุ้มกันพยายามเข้ามาทำลาย cell

1.2.2.3. การพยาบาล

1.2.2.3.1. แนะนำให้รับสาร Antioxydance ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสละได้

1.2.3. ทฤษฎีความเสื่อมโทรม

1.2.3.1. ความสูงอายุเกิดจากใช้งานมาก เกิดความเสื่อมสภาพได้เร็ว

1.2.3.2. อวัยวะต่างๆทำงานหนัก

1.2.3.3. cell มีอายุมากขึ้น เสื่อมลง ตายไป

1.2.3.4. การพยาบาล

1.2.3.4.1. แนะนำให้ควบคุมน้ำหนัก ลดแรงกระแทก

1.2.4. ทฤษฎีการสะสม

1.2.4.1. การสะสมของ fatty pigment

1.2.4.2. เกิดจาก cell เผาผลาญโปรตีนและไขมัน เกิดการตกค้าง สะสมมากขึ้นตามอายุ

1.2.4.3. เป็นรงควัตถุที่บอกถึงความชรา พบได้ในเนื้อเยื่อหลายแห่ง

1.2.4.4. ย่อยสลายยาก ไม่ละลายน้ำ ไม่ทำปฏิกิริยาเคมี

1.2.4.5. สะสมมากจะไปขัดขวางการทำงานของ cell

1.2.4.6. เกิดอนุมูลอิสละมาก เกิดการเชื่อมสายโมเลกุลของของเสียมาก

1.2.4.7. การพยาบาล

1.2.4.7.1. ลดปัจจัยที่ก่อความเครียด

1.2.4.7.2. ลดน้ำหนัก

2. ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม

2.1. ทฤษฎีการถดถอยจากสังคม

2.1.1. ผู้สูงอายุถอยห่างจากสังคมเพื่อลดความเครียด

2.1.2. รักษาพลังงานพอใจกับการไม่เกี่ยวข้องกับสังคม

2.1.3. ถอนสภาพและบทบาทของตนให้แก่ชนรุ่นหลัง

2.2. ทฤษฎีการมีกิจกรรมร่วมกัน

2.2.1. เน้นความสัมพันธ์ทางบวก

2.2.2. ผู้สูงอายุมีความต้องการที่จะเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อความสุขและการมีชีวิตที่ดี

2.2.3. กิจกรรมที่ปฏิบัติต่อเพื่อนฝูง สังคม ชุมชน และเป็นประโยชน์

2.2.3.1. กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ

2.2.3.1.1. เกี่ยวข้องทั้งในครอบครัวและสังคม

2.2.3.1.2. กำหนดรูปแบบเวลา การปฏิบัติที่แน่นอนชัดเจน

2.2.3.1.3. มีการนัดพบสังสรรค์ นันทนาการ

2.2.3.2. กิจกรรมที่มีรูปแบบ

2.2.3.2.1. กิจกรรมที่เข้าร่วมในองค์กร รูปแบบกิจกรรมชัดเจน

2.2.3.2.2. กิจกรรมภายนอกครอบครัว

2.2.3.2.3. มีปฏิสัมพันธ์กับุคคลอื่นในสังคม

2.2.3.2.4. เข้าร่วมกิจกรรมต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบขององค์กรนั้น

2.2.3.3. กิจกรรมที่ทำตามลำพัง

2.2.3.3.1. สามารถทำตามลำพังไม่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น

2.2.3.3.2. ต้องการอยู่คนเดียวเพียงลำพังอย่างสงบ ทำกิจกรรมที่ตนเองสนใจอย่างเงียบๆ

2.3. ทฤษฎีความต่อเนื่อง

2.3.1. ผู้สูงอายุจะคงแบบแผนและบุคลิกภาพเดิมต่อไป

2.3.2. คงไว้ซึ่งกิจกรรมเดิม

2.3.3. หากมีความสงบอยู่แล้วอาจจะแยกตนเองออกจากสังคม