บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ by Mind Map: บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์

1. สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ

1.1. ด้านการปกครอง

1.1.1. เมื่อรัชกาลที่5 เสด็จเยือนยุโรป ได้รับการสถาปนาเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน

1.2. ด้านการศึกษา

1.2.1. บริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ก่อตั้งโรงเรียนสตรีขึ้นหลายแห่งในกรุงเทพและหัวเมือง

1.2.2. เช่น โรงเรียนราชินีและโรงเรียนเสาวภา

1.3. ด้านการสาธารณสุขและการแพทย์

1.3.1. ก่อตั้งสภาอนุโลมแดง (สภากาชาดไทย)

1.3.2. สร้างรูปพระแม่ธรณีบีบมวยผมที่เชิงสะพานผ่านพิภพลีลา

1.3.3. สนับสนุนให้สตรีไทยใช้การคลอดแบบตะวันตก

2. สมัยรัชกาลที่5 ถึงสงครามโลกครั้งที่2

2.1. กลุ่มพระมหาเทวีของรัชกาลที่5

2.1.1. สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี

2.1.1.1. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในหัวเมือง

2.1.1.2. เช่น การจัดตั้งโรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา สอนหนังสือและอาชีพชาวบ้าน โดยเฉพาะการทอผ้า

2.1.2. สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

2.1.2.1. นิพนธ์ สุขุมาลนิพนธ์

2.1.2.2. ทรงจัดให้วังบางขุนพรมเป็นแหล่งศึกษาที่ทันสมัยสำหรับสตรีสูงศักดิ์

2.1.2.3. สร้างอาคารเรียนให้วัดพิชยญาติกาวาราม

2.1.3. พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์

2.1.3.1. อุทิศราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดตั้งโรงเลี้ยงเด็กกำพร้าและสงเคราะห์ผู้ยากจน

2.1.4. เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

2.1.4.1. เป็นผู้เชื่อมความสัมพันธ์และวัฒนธรรมดินแดนของเป็นเอกภาพ

2.1.4.2. สนับสนุนการก่อตั้งและการดำเนินงานๆของโรงเรียนในเชียงใหม่ เช่น โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

2.1.5. เจ้าคุณจอมมารดาแพ

2.1.5.1. ปรับปรุงภาพลักษณ์ แก้ไขขนบธรรมเนียมต่างๆให้ทันสมัย

2.1.5.2. จัดตั้งสุขศาลาให้สงเคราะห์แก่คนทั่วไป

2.2. กลุ่มสตรีที่ได้รับการศึกษาแผนใหม่

2.2.1. ด้านการแพทย์และสังคมสังเคราะห์

2.2.1.1. หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ

2.2.1.1.1. จัดระเบียบแบบแผนการรักษาพยาบาลและปรับมาตรฐานการศึกษาให้ทันสมัย

2.2.1.2. แพทย์หญิง ดร.คุณเพียร เวชบุล

2.2.1.2.1. บำบัดและป้องกันกามโรคทั้งแก่บุรุษและหญิงขายบริการ

2.2.1.2.2. ช่วยเหลือสตรีที่ระสบปัญหาชีวิตในครอบครัว

2.2.1.2.3. ก่อตั้งสถานรับเลี้ยงเด็กกำพร้านอกสมรส ชื่อว่า มาตาภาวสถาน

2.2.1.3. ท่านผู้หญิงละเอียดพิบูลสงคราม

2.2.1.3.1. ตั้งสโมสรวัฒนธรรมฝ่ายหญิงและจัดกิจกรรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสตรีและเยาวชน

2.2.1.3.2. พยายามยกสถานภาพของสตรี เช่น สิทธิความเสมอภาคในการดำรงตำแหน่งทางราชการ การจัดตั้งสหพันธ์กรรมกรหญิง

2.2.2. ริเริ่มการปลูกพืชเมืองหนาว

2.2.3. ด้านการประกอบอาชีพและกิจกรรมสังคม

2.2.3.1. หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศสมัย ดิศกุล

2.2.3.1.1. มีงานนิพนธ์ทั้งด้านการท่องเที่ยว ขนบธรรมเนียมไทย กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา

2.2.3.1.2. มีส่วนร่วมก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก

2.2.3.2. หม่อมศรีพรหมมา กฤดากร

2.2.3.2.1. นำเทคโนโลยีและวิถีชีวิตแบบตะวันตกมาประยุกต์ใช้ในฟาร์มและครอบครัว

2.2.3.3. ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์

2.2.3.3.1. จัดพิมพ์ตำรา แม่ครัวหัวป่าก์ เป็นตำราอาหารคาวหวานเล่มแรกของไทย

2.2.3.4. ท่านผู้หญิงตลับ สุขุม

2.2.3.4.1. พัฒนาสถานภาพของสตรีไทยในกรุงเทพ

2.2.4. กลุ่มสตรีที่ประกอบชีพด้านกฎหมาย

2.2.4.1. การเรียกร้องสิทธิสตรีและยกระดับสถานภาพให้ทัดเทียมบุรุษ

2.2.4.2. เช่น คุณหญิงแร่ม พรหโมบล

2.2.5. กลุ่มสตรีที่ประกอบชีพด้านการศึกษา

2.2.5.1. อบรมเยาวชนสตรีให้เติบใหญ่อย่างมีคุณค่า

2.2.6. สตรีจากราชสกุลกุญชร

2.2.6.1. หม่อมหลวงบุปผา (กุญชร) นิมมานเหมินทร์

2.2.6.1.1. มีผลงานคือการเขียนนิยาย เป็นวรรณกรรมที่ทรงคุณค่าทั้งด้านภาษาและเนื้อหาที่สะท้อนภาพสังคมไทยยุคนั้น

2.2.6.2. หม่อมหลวงบุญเหลือ (กุญชร) เทพยสุวรรณ

2.2.6.2.1. มีบทบาทสำคัญด้านการศึกษาโดยเฉพาะด้านภาษาศาสตร์และงานวิจัยเกี่ยวกับตระกูลภาษาไท

2.2.7. หม่อมหลวงพวงร้อย (สนิทวงศ์) อภัยวงศ์

2.2.7.1. มีความโดดเด่นด้านดนตรีและประพันธ์บทเพลงที่ไพเราะและทรงคุณค่ามากมาย เช่น เพลงเทิดพระเกียรติ

3. ตั้งแต่มีการบันทึกหลักฐานมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

3.1. บทบาททางการเมือง

3.1.1. ด้านการรบและการทำสงคราม

3.1.1.1. สตรีสูงศักดิ์แห่งล้านนา

3.1.1.1.1. ในสมัยพระเจ้าติโลกราชแห่งเชียงใหม่ เจ้านายสตรีมีบทบาทในการรบเพื่อปกป้องบ้านเมืองและช่วยแผ่ขยายอำนาจ

3.1.1.2. สมเด็จพระสุริโยทัย

3.1.1.2.1. เสด็จตามพระสวามีในการปกป้องบ้านเมืองจากศึกพม่า

3.1.1.3. เจ้าศรีอโนชา

3.1.1.3.1. รวบรวมบริวารปกป้องครอบครัวและช่วยเหลือพระยาสุริยอภัย ป้องกันเหตุวุ่นวายในกรุงธนบุรี

3.1.1.3.2. ร่วมมือกับกับพระยาเจ่ง พระยาราม นายกองมอญแต่งทัพเรือเข้าปราบกบฏแตกพ่ายหนีไป

3.1.1.4. คุณหญิงจัน คุณหญิงมุก

3.1.1.4.1. นำประชาชนต่อต้านพม่าที่มาตีเมืองถลางในคราวสงครามเก้าทัพจนได้รับชัยชนะ

3.1.1.5. คุณหญิงโม

3.1.1.5.1. วางแผนและต่อสู็กับกองทัพเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทร์

3.1.2. ด้านการปกครอง

3.1.2.1. พระนางจามเทวี

3.1.2.1.1. ได้รับการเชื้อเชิญให้มาปกครองเมืองหริภุญชัย

3.1.2.1.2. ทำนุบำรุงกิจการทางพระพุทธศาสนา

3.1.2.2. พระนางมหาเทวีสุโขทัย

3.1.2.2.1. มีบทบาทในการปกครองสุโขทัยระหว่างที่พระมหาธรรมราชาที่1ไปปกครองเมืองสรลวงสองแคว

3.1.2.3. พระมหาเทวีล้านนา

3.1.2.3.1. พระเจ้ากรุงหงสาวดีบุเรงนองได้สถาปนาพระนางขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองเมืองเชียงใหม่

3.1.2.4. แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์

3.1.2.4.1. ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินของพระยอดฟ้าพระโอรสที่ยังเป็นยุวะกษัตริย์

3.1.2.4.2. พระนางได้ขึ้นปกครองกรุงศรีอยุธยาคู่กับขุนวรวงศาธิราช

3.1.2.5. กรมหลวงโยธาเทพ ( เจ้าฟ้าศรีสุพรรณ )

3.1.2.5.1. พระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์ มีอิทธิพลอำนาจสิทธิ์ขาดการปกครองดูแลราชสำนักฝ่ายใน

3.1.3. เสริมสร้างสัมพันธไมตรีทางเครือญาติ

3.1.3.1. การเสริมสร้างสัมพันธไมตรี

3.1.3.1.1. การสร้างความความเป็นเครือญาติทั้งในและนอกราชอาณาจักร

3.1.3.1.2. เช่น การสมรสในช่วงรัฐไทยยุคแรกระหว่างล้านนากับล้านช้าง

3.1.3.2. การแสวงหาพันธมิตร

3.1.3.2.1. ในสมัยสมัยพระมหาจักรพรรดิได้มีการเจริญสมพันธไมตรีกับกรุงศรีสัตนาคนหุตล้านช้าง

3.1.3.2.2. ถึงแม้การอภิเษกถูกขัดขวางจากพม่า แต่ทั้งสองอาณาจักรก็ยังไมตรีต่อกัน

3.1.3.3. เมื่อตกอยู่ใต้อำนาจอาณาจักรอื่น

3.1.3.3.1. การถวายพระธิดาเพื่อแสดงความจงรักภักดี

3.1.3.3.2. เช่น กรณีสมเด็จพระธรรมราชายกพระสุพรรณกัลยาให้พระเจ้ากรุงหงสาวดีบุเรงนอง

3.1.4. เมื่อมีการเปลี่ยนผู้นำ

3.1.4.1. การประสานสัมพันธไมตรีผ่านการแต่งงานระหว่างผู้นำใหม่กับสตรีในราชวงศ์เก่า

3.1.4.2. เพื่อให้เกิดการยอมรับในอำนาจ สร้างความชอบธรรมในการสืบทอดราชบัลลังก์

3.2. บทบาททางสังคม

3.2.1. ด้านการศึกษา

3.2.1.1. เจ้าฟ้าพินทวดี

3.2.1.1.1. เป็นกำลังสำคัญในการจัดทำตำราโบราณราชประเพณีที่ชำระเรียบเรียงขึ้นในรัชกาลที่1

3.2.1.2. พระองค์เจ้าบุตรี (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงรเสรฐสุดา)

3.2.1.2.1. เป็นพระอาจาร์ยสอนวิชาความรู้เบื้องต้นให้แก่พระราชโอรส พระราชธิดาในรัชกาลที่5

3.2.2. ด้านวรรณกรรม

3.2.2.1. เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ

3.2.2.1.1. ทรงนิพนธ์บทละครเรื่อง ดาหลัง (อิเหนาใหญ่) และอิเหนา (อิเหนาเล็ก)

3.2.2.2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุกรมหลวงนรินทรเทวี

3.2.2.2.1. ทรงนิพนธ์จดหมายเหตุความทรงจำบันทึกเรื่องราวในเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ.2310 จนถึงสมัยรัชกาลที่2

3.2.2.3. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามณฑา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล

3.2.2.3.1. นิพนธ์กุมารคำฉันท์

3.2.2.4. คุณพุ่ม (บุษบาท่าเรือจ้าง)

3.2.2.4.1. ทรงนิพนธ์เพลงยาวบวงสรวงสระน้ำที่บางโขมด เพลงเพลงยาวเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่3

3.2.2.5. คุณสุวรรณ

3.2.2.5.1. ทรงนิพนธ์ บทละครเรื่องพระมะเหลเถไถ บทละครเรื่องอุณรุทร้อยเรื่อง เพลงยาวกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพทรงพระประชวร

3.2.3. ด้านการศาสนา

3.2.3.1. สละพระราชทรัพย์เพื่อสร้างพระปฏิสังขรณ์พระอาราม พระพทธรูป ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา