การเมืองการปกครอง สมัยรันตโกสินทร์ตอนต้น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเมืองการปกครอง สมัยรันตโกสินทร์ตอนต้น by Mind Map: การเมืองการปกครอง        สมัยรันตโกสินทร์ตอนต้น

1. สภาพทางการเมืองในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยังคงรูปแบบของระบบประชาธิปไตยอันเป็นระบบการปกครองที่สืบทอดมาช้านาน การเปลี่ยนแปลงภายในตัวระบบอยู่ที่การปรับบทบาทของสถาบันกษัตริย์ ซึ่งเป็นสถาบันสูงสุดที่ทำหน้าที่ปกครองประเทศ รูปแบบของสถาบ้นกษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น คลายความเป็นเทวราชาลงเป็นอย่างมาก

2. การปรับปรุงด้านการศาลและกฎหมาย กฎหมายที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้ชำระขึ้นในปี พ.ศ.2347 นั้น เรียกว่า กฎหมายตราสามดวง ที่เรียกเช่นนั้นเพระเมื่อรวบรวมและชำระเรียบร้อยแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้อาลักษณ์คัดลอกไว้เป็น 3 ฉบับ ทุกฉบับประทับตราคชสีห์ ราชสีห์ และตราบัวแก้ว ซึ่งเป็นตราประจำตำแหน่งสมุหกลาโหม สมุหนายก และพระยาพระคลัง ซึ่งเป็นเสนาบดีที่มีอำนาจหน้าที่ในการปกครองดูแลหัวเมืองทั่วพระราชอาณาจักร กล่าวคือสมุหกลาโหมปกครองดูแลหัวเมืองภาคใต้ สมุหนายกปกครองดูแลหัวเมืองทางภาคเหนือและภาคอีสาน พระยาพระคลัง ปกครองดูแลหัวเมืองชายทะเลภาคตะวันออก

3. กฎหมายที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้ชำระขึ้นในปี พ.ศ.2347 นั้น เรียกว่า กฎหมายตราสามดวง ที่เรียกเช่นนั้นเพระเมื่อรวบรวมและชำระเรียบร้อยแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้อาลักษณ์คัดลอกไว้เป็น 3 ฉบับ ทุกฉบับประทับตราคชสีห์ ราชสีห์ และตราบัวแก้ว ซึ่งเป็นตราประจำตำแหน่งสมุหกลาโหม สมุหนายก และพระยาพระคลัง ซึ่งเป็นเสนาบดีที่มีอำนาจหน้าที่ในการปกครองดูแลหัวเมืองทั่วพระราชอาณาจักร กล่าวคือสมุหกลาโหมปกครองดูแลหัวเมืองภาคใต้ สมุหนายกปกครองดูแลหัวเมืองทางภาคเหนือและภาคอีสาน พระยาพระคลัง ปกครองดูแลหัวเมืองชายทะเลภาคตะวันออก

4. การปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ในสมัยรัชกาลที่ 1-3 พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจสูงสุด ในการปกครองประเทศ การจัดระเบียบการปกครองยังคงยึดถือ ตามแบบอย่างสมัยอยุธยาตอนปลาย มีดังนี้ 1.การปกครองส่วนกลาง มีเสนาบดีทำหน้าที่บริหารราชการ ได้แก่ 1.1 สมุหกลาโหม มีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ 1.2 สมุหนายก มีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเห 1.3 เสนาบดีจตุสดมภ์ เป็นตำแหน่งรองลงมา ประกอบด้วย (1) กรมเวียง (2) กรมวัง (3) กรมคลัง (4) กรมนา

4.1. 2. การปกครองส่วนภูมิภาค หรือการปกครองหัวเมือง 2.1 หัวเมืองฝ่ายเหนือ (รวมทั้งหัวเมืองอีสาน) อยู่ในความรับผิดชอบของสมุหนายก หั้วเมืองฝ่ายเหนือแบ่งตามฐานะตามระดับความสำคัญ ดังนี้ (1) หัวเมืองชั้นใน (หัวเมืองจัตวา) อยู่ไม่ห่างไกลจากราชธานี มีเจ้าเมืองหรือ“ผู้รั้ง”เป็นผู้ปกครอง (2) หัวเมืองชั้นนอก (เมืองชั้นตรี โท เอก) มีขุนนางชั้นสูงหรือพระบรมวงศานุวงศ์เป็นผู้ปกครอง ได้แก่ เมืองพิษณุโลก ฯลฯ 2.2 หัวเมืองฝ่ายใต้ ขึ้นสังกัดสมุหกลาโหม นับตั้งแต่เมืองเพชรบุรีลงไป จนถึงนครศรีธรรมราช เป็นต้น 2.2 หัวเมืองชายฝั่ทงทะเลตะวันออกของอ่าวไทย เป็นหั้วเมืองชั้นนอก ได้แก่ นนทบุรี สมุทรปราการ ฯลฯ

5. กำเนิดเอกลักษณ์ ศิลปะรัตนโกสินทร์ การก่อสร้างสถาปัตยกรรมช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ (ร.1 - ร.3) ถ่ายทอดจากประสบการณ์ (พ.ศ. 2325-2393) รูปแบบที่อยู่อาศัยมีทั้งลักษณะสถาปัตยกรรมไทยดั้งเดิม และรูปแบบที่ได้รับอิทธิพลจากจีน รูปแบบลักษณะสถาปัตยกรรมเฉพาะ (ไทยประเพณี) เช่น พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ ฯลฯ รูปแบบสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากจีน เช่น วัดเทพธิดารามวรวิหาร วัดบวรนิเวศวิหาร (เป็นวัดทีได้รับอิทธิพลทั้งจากจีนและตะวันตก) ฯลฯ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว นับเป็นยุคทองแห่งศิลปะจีน มีการใช้การก่ออิฐถือปูนและใช้ลวดลายดินเผาเคลือบประดับหน้าบันแทนแบบเดิม