การบำบัดไซโปรฟลอกซาซินในน้ำเสียด้วยกระบวนการโอโซเนชันที่ใช้ Fe3O4 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคลือบบนผิว...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การบำบัดไซโปรฟลอกซาซินในน้ำเสียด้วยกระบวนการโอโซเนชันที่ใช้ Fe3O4 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคลือบบนผิวไบโอชาร์ by Mind Map: การบำบัดไซโปรฟลอกซาซินในน้ำเสียด้วยกระบวนการโอโซเนชันที่ใช้ Fe3O4 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคลือบบนผิวไบโอชาร์

1. ขอบเขตงานวิจัย

1.1. เป็นการทดลองในห้องปฏิบัติการ

1.2. ใช้น้ำตัวอย่างใช้

1.2.1. น้ำเสียสังเคราะห์

1.2.2. น้ำสังเคราะห์

2. ระเบียบวิธีวิจัย

2.1. อุปกรณ์

2.2. วิธีการ

3. ทบทวนวรรณกรรม

3.1. ไซโปรฟลอกซาซิน

3.2. การปนเปื้อนของไซโปรฟลอกซาซินในสิ่งแวดล้อม

3.3. ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการปนเปื้อนไซโปรฟลอกซาซิน

3.4. กระบวนการโอโซเนชัน

3.5. กระบวนการโอโซเนชันที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา

3.6. Fe3O4

4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

4.1. ทราบถึงประสิทธิภาพและปัจจัยที่มีผลต่อการบำบัดไซโปรฟลอกซาซินด้วยวิธีการโอโซเนชันที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเคลือบลงบนผิวของไบโอชาร์

4.2. ทราบถึงความเป็นไปได้ในการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เคลือบลงบนผิวไบโอชาร์ในกระบวนการโอโซเนชันเพื่อใช้ในการบำบัดไซโปรฟลอกซาซิน

4.3. สามารถนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปใช้ประยุกต์ใช้ได้

4.4. สามรถนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปใช้เป็นแนวทางในการบำบัดมลสารอื่น ๆ ที่ปนเปื้อนในน้ำต่อไป

5. สถานที่ทำการวิจัย

5.1. ห้องปฏิบัติการชั้น 5 ภาควิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน

6. ศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเคลือบลงบนไบโอชาร์

6.1. การเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา

6.2. การเตรียมไบโอชาร์

6.3. การเคลือบตัวเร่งปฏิกิริยาลงบนผิวไบโอชาร์

7. ศึกษาประสิทธิภาพของการบำบัดและปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการบำบัด

7.1. การเตรียมน้ำตัวอย่าง

7.1.1. น้ำสังเคราะห์

7.1.2. น้ำเสียสังเคราะห์

7.2. การติดตั้งและการเดินระบบ

7.3. ปัจจัยที่มีผลต่อการประสิทธิภาพการบำบัด

7.3.1. pH

7.3.2. ความเข้มข้นของยาปฏิชีวนะ

7.3.3. ปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยา

8. ความสำคัญของงานวิจัย

8.1. ปัญหาเชื้อจุลินทรีย์ก่อนโรคดื้อยา

8.2. ยาไซโปรซอกซาซินนิยมใช้กันอย่างแพร่ทั้งในคนและสัตว์

8.3. ระบบบำบัดทางเคมีมีประสิทธิภาพมากกว่าระบบบำบัดอื่น

8.4. ระบบโอโซเนชันมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงและลดทอนความเป็นพิษของสารอินทรีย์

8.5. น้ำที่ผ่านการบำบัดไม่มีอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม

9. Problem Statement

9.1. สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน

9.2. ผลของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่ถูกวิธี

9.3. วิธีการบำบัดมีหลายวิธี

9.3.1. วิธีการดูดซับ

9.3.2. วิธีการทางชีวภาพ

9.3.3. วิธีการทางเคมี

9.3.3.1. โอโซเนชัน

9.4. ข้อกำจัดของวิธีการโอโซเนชันโดยตรง

9.4.1. การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา

9.5. การใช้ซ้ำของตัวเร่งปฏิกิริยา