ความผิดปกติระบบหัวใจ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความผิดปกติระบบหัวใจ by Mind Map: ความผิดปกติระบบหัวใจ

1. Valvular heart disease : VHD (ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจ)

1.1. สาเหตุ

1.1.1. 1.โรคลิ้นหัวใจพิการ

1.1.1.1. แต่กำเนิดตอนเด็กจะมีอาการเหนื่อยง่าย เจริญเติบโตช้า ตัวเขียว

1.1.2. 2.โรคลิ้นหัวใจรูห์มาติค

1.1.2.1. เกิดจากการติดเชื้อจนหัวใจเกิดการอักเสบ

1.1.3. 3.โรคลิ้นหัวใจเสื่อมในคนสูงอายุ

1.1.3.1. มักเกิดจากหินปูนเกาะที่ลิ้นหัวใจ

1.1.4. 4.โรคลิ้นหัวใจอักเสบติดเชื้อ

1.1.4.1. มักพบในคนไข้ที่ท าฟัน เชื้อโรคในเลือดจะลงไปทำลายลิ้นหัวใจ

1.1.5. 5.โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

1.1.5.1. ทำให้สูญเสียความสามารถในการยึดลิ้นหัวใจ

1.2. อาการแสดง

1.2.1. 1. หอบเหนื่อยและไอเป็นเลือดออกแดง ชมพู (pink frothy sputum)

1.2.2. 2. อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ใจสั่น

1.2.3. 3. กลืนอาหารลำบาก เสียงแหบ เจ็บหน้าอก หรืออาจชักหมดสต

1.3. ปัจจัยเสี่ยง

1.4. การรักษา

2. Infective Endocarditis : IE (ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ)

2.1. สาเหตุ

2.1.1. 1.ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา

2.1.2. 2.มีแผลในปากจากฟันผุหรือถอนฟัน

2.1.3. 3.ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

2.1.3.1. ได้แก่

2.1.3.1.1. 1.Streptococcus

2.1.3.1.2. 2.Enterococcus

2.1.4. 4.ติดเชื้อทางผิวหนัง

2.1.4.1. ได้แก่

2.1.4.1.1. Staphyloccus

2.1.5. 5.ติดเชื้อทางเดินหัวใจ

2.2. อาการแสดง

2.2.1. 1.มีไข้ ร่วมกับอาการทางระบบร่างกาย

2.2.1.1. เช่น

2.2.1.1.1. 1.หนาวสั่น

2.2.1.1.2. 2.เบื่ออาหาร

2.2.1.1.3. 3.น้ำหนักลด

2.2.2. 2.ฟังเสียงหัวใจ

2.2.2.1. ส่วนใหญ่จะได้ยินเสียงฟู่ (murmur)

2.2.3. 3.เลือดออกได้ง่าย หรือเกิดจ้ำเลือด

2.2.4. 4.จุดเลือดออกมักพบบริเวณ

2.2.4.1. 1.เยื่อบุตา

2.2.4.2. 2.เพดานในช่องปาก

2.2.4.3. 3.เลือดออกใต้เล็บ

2.3. แบ่งตามชั้นของหัวใจ

2.3.1. 3 ชั้น

2.3.1.1. 1.การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericarditis)

2.3.1.2. 2.การอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ (Myocarditis)

2.3.1.3. 3.การอักเสบเยื่อบุด้านในของหัวใจ (Endocarditis

3. Coronary artery disease :CAD (ความผิดปกติของหลอดเลือดของหัวใจ)

3.1. สาเหตุ

3.1.1. 1.มักพบบริเวณ epithelial arteries หรือที่เรียกว่า arteromatous plaque

3.1.2. 2.การอุดตันส่วนใหญ่มีสาเหตุจาก non-arterosclerotic และความผิดปกติแต่กำเนิดของหลอดเลือดโคโรนารี

3.2. อาการแสดง

3.2.1. 1. เจ็บหน้าอก (angina pectoris)

3.2.2. 2. เหนื่อยง่ายขณะออกแรง

3.2.3. 3. ใจสั่น (Palpitations)

3.2.4. 4. หายใจลำบาก (Dyspnea)

3.2.5. 5. ไอเป็นเลือด (Cough of hemoptysis)

3.2.6. 6. หมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น

3.3. ปัจจัยเสี่ยง

3.3.1. 1. บุหรี่

3.3.2. 2.ไม่ออกกำลังกาย

3.3.3. 3.ความอ้วน

3.3.4. 4.เบาหวาน

3.3.5. 5.ความเครียด

3.3.6. 6.แอลกอฮอล์

3.3.7. 7.ระดับโฮโมซีสเตอีน

3.3.8. 8.ยาคุมกำเนิด

3.3.9. 9. ภาวะความดันโลหิตสูง

3.3.10. 10.ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ

3.4. การรักษา

3.4.1. 1. การรับประทานยา

3.4.1.1. เช่น

3.4.1.1.1. ยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด

3.4.1.1.2. ยาลดการบีบตัวของหัวใจ (beta blocker)

3.4.1.1.3. ยาขยายหลอดเลือด (nitrate)

3.4.1.1.4. ยาลดไขมันในเลือด

3.4.2. 2. การทำหัตถการหลอดเลือดหัวใจผ่านสายสวน (percutaneous coronary intervention: PCI) ทางเลือกกรณีการรักษาด้วยยาไม่ได้ผล Percutaneous Coronary Intervention (PCI)