วิเคราะห์คุณค่าวรรณกรรม บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
วิเคราะห์คุณค่าวรรณกรรม บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก by Mind Map: วิเคราะห์คุณค่าวรรณกรรม บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก

1. ผู้แต่ง

1.1. รัชกาลที่ ๖

1.1.1. ประวัติ

1.1.1.1. เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๔๒๔

1.1.1.2. เป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๒๙

1.1.1.3. เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘

1.1.1.3.1. ดำรงราชสมบัติรวม ๑๕ ปี

1.1.1.3.2. รวมพระชนมพรรษา ๔๔ พรรษา

1.1.2. การศึกษา

1.1.2.1. เสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ หลายแขนง

1.1.2.1.1. สำเร็จการศึกษาทางทหารจากแซนเฮิสต์

1.1.2.1.2. รับราชการในกรมทหารราบ เบาเดอรัม

1.1.2.1.3. ศึกษาวิชา ประวัติศาสตร์และกฎหมาย ที่วิทยาลัยไครสต์เชิร์ช มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

1.1.3. พระราชกรณียกิจ

1.1.3.1. ตั้งกรมมหรสพ เพื่อฟื้นฟูศิลปะวัฒนธรรมไทย และยังได้ทรงสร้างโรงละครหลวงไว้ในพระราชวังทุกแห่ง

1.1.3.2. มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรม ในฐานะที่ทรงเป็นนักปราชญ์ นักประพันธ์ กวี และนักแต่งบทละคร

1.1.3.2.1. บทละครร้อง

1.1.3.2.2. บทละครดึกดำบรรพ์

1.1.3.2.3. ลัทธิเอาอย่าง

1.1.3.2.4. ได้รับการยกย่องเทิดพระเกียรติคุณว่า “สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า”

1.1.3.3. ทรงส่งเสริมให้มีการแต่งหนังสือและโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชบัญญัติวรรณคดีสโมสร

2. คุณค่าด้านวรรณศิลป์

2.1. ลักษณะคำประพันธ์

2.1.1. บทละครพูดขนาดสั้น

2.1.1.1. ความยาว ๑ องค์

2.1.1.2. ละครที่แสดงโดยใช้บทสนทนาโต้ตอบกันของตัวละคร กำหนดโดยผู้แต่ง

2.2. ศิลปะการประพันธ์

2.2.1. การใช้บทสนทนาที่เหมาะสมกับสถานภาพของตัวละคร

2.2.1.1. ตำแหน่งทางสังคม

2.2.1.2. ยศถาบรรดาศักดิ์

2.2.1.3. อายุของตัวละคร

2.2.2. การใช้บทสนทนาที่สอดคล้องกับลักษณะนิสัยและอารมณ์ความรู้สึกของตัวละคร

2.2.2.1. ดำเนินเรื่องผ่านบทสนทนาเป็นหลัก

2.2.2.2. สร้างบทสนทนาที่สื่อถึงนิสัยและอารมณ์ความรู้สึกของตัวละคร

2.2.3. การใช้ถ้อยคำที่สื่อความหมายลึกซึ้ง

2.2.3.1. ใช้ถ้อยคำที่สั้นกระชับ แต่กินความมาก

2.2.3.2. สื่อความหมายได้ลึกซึ้ง

2.2.4. การสื่อความหมายโดยนัย

2.2.4.1. ไม่สื่อความหมายออกมาตรงๆ

2.2.4.2. สื่อความหมายผ่านคำพูดที่สื่อเป็นนัยให้ทราบ

2.2.5. มีคำอุทานในบทสนทนา

2.2.5.1. พุทโธ่!

2.2.5.2. ฮือ!

2.2.5.3. แหม!

2.2.5.4. อ้อ!

2.2.6. มีการใช้ภาษาพูดในยุคสมัยนั้น

2.2.6.1. กระได

2.2.6.2. หล่อน

2.2.6.3. เทียว

2.2.7. มีการใช้คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ

2.2.7.1. ออฟฟิศ

2.2.8. มีการใช้เครื่องหมายวรรคตอนตามรูปแบบของภาษาอังกฤษ

2.2.8.1. .

2.2.8.2. ,

2.2.8.3. ?

3. คุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม

3.1. ธรรมเนียมการต้อนรับแขก

3.1.1. ต้อนรับแขกด้วยความเต็มใจผู้ที่ได้รับการต้อนรับจะประทับใจ

3.2. กำหนดค่าและรูปแบบของการใช้เงิน

3.2.1. ระบบเงินตราเป็นตัวกลางในการซื้อขายแลกเปลี่ยน

3.3. ค่านิยมการนับถือบุคคลที่เพียบพร้อมทั้งรูปสมบัติ และทรัพย์สมบัติ

3.3.1. คนไทยนับถือคนจากรูปลักษณ์ภายนอกไม่ได้ดูที่จิตใจ

3.4. แสดงให้เห็นถึงสัจธรรมของมนุษย์

3.4.1. มนุษย์ทุกคนย่อมเห็นแก่ตัวเป็นธรรมดา

3.5. สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมการแต่งงานว่ามีการรดน้ำอวยพรจากผู้ใหญ่

3.6. ค่านิยมไทยในสมัยก่อนจะให้ลูกสาวแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อย

3.7. สังคมไทยสมัยนั้นนิยมใช้เงินเป็นชั่ง เป็นบาท

3.8. สังคมไทยยกย่องชื่นชมคนที่ทำมาหากินสุจริต ถ้าทำผิดกฎหมายจะถูกลงโทษ

4. ข้อคิดและการประยุกต์ใช้

4.1. มนุษย์ทุกคนย่อมรักลูก

4.1.1. รักผู้ที่มีพระคุณหรือผู้เป็นพ่อแม่ของเรา

4.2. เมื่อรับเลี้ยงผู้ใดต้องรัก เมตตา และทะนุถนอมเป็นอย่างดี

4.2.1. ดูแลใส่ใจสัตว์เลี้ยงของเราให้ดี

4.3. เลือกประกอบอาชีพที่สุจริต มีความซื่อสัตย์ในหน้าที่ของตน

4.3.1. ไม่เลือกประกอบอาชีพที่ผิดกฎหมายและฉ้อโกง

4.4. ไม่ดื่มสุราและไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด

4.4.1. ไม่คล้อยตามเพื่อนที่ชักชวนให้เราไปยุ่งเกี่ยวสารเสพติด

4.4.2. ไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด

4.5. สถาบันครอบครัวมีความสำคัญต่อโครงสร้างสังคม

4.5.1. ต้องดูแบบอย่างที่ดีจากพ่อแม่เพื่อนำไปประพฤติตนให้ดี

4.6. คนดีย่อมมีผู้นับถือ

4.6.1. ประพฤติตนให้เป็นคนดี

4.7. อย่าทำตนเองให้ตกต่ำเพราะการกระทำของตนเอง

4.7.1. ไม่ทำให้ตัวเราเองดูแย่เพราะคำพูดของตัวเรา

5. คุณค่าด้านเนื้อหา

5.1. โครงเรื่อง

5.1.1. พ่อแท้ๆของลออคือนายล้ำซึ่งเป็นคนขี้คุกติดยา

5.1.2. พระยาภักดีนฤนาถรับลออมาเลี้ยง

5.1.3. จนเมื่อลออจะออกเรือนนายล้ำจึงกลับมาทวงสิทธิ์ความเป็นพ่อ

5.1.4. พระยาภักดีนฤนาถจึงพยายามกีดกันไม่ให้นายล้ำเจอลออเพราะกลัวลออเสียชื่อเสียง

5.1.5. ลออพูดถึงพ่อในอุดมคติเมื่อนายล้ำได้ยิน จึงสำนึกได้

5.1.6. นายล้ำจึงสำนึกได้ละยอมจากไปโดยดี

5.2. ฉาก

5.2.1. ห้องหนังสือ ในบ้านพระยาภักดีนฤนาถ

5.3. ตัวละคร

5.3.1. นายล้ำ

5.3.1.1. หน้าดูแก่กว่าอายุเพราะดื่มเหล้าจ้ด

5.3.1.2. เป็นบิดาแท้ๆของลออ

5.3.1.3. เคยรับราชการจนได้รับราชทินนามว่า ทิพเดชะ

5.3.2. พระยาภักดี

5.3.2.1. รักลูกมาก

5.3.2.2. เป็นคนดี

5.3.2.3. เป็นพ่อบุณธรรมของลออ

5.3.3. ลออ

5.3.3.1. อ่อนโยน

5.3.3.2. สุภาพเรียบร้อย

5.3.3.3. มีมารยาทงาม

5.3.3.4. มองโลกในแง่ดี

5.3.4. อ้ายคำ

5.3.4.1. สุภาพ

5.3.4.2. ซื่อสัตย์

5.3.4.3. รักเจ้านาย

5.3.4.4. ฉลาด