1. คุณค่าด้านเนื้อหา
1.1. โครงเรื่อง
1.1.1. นายล้ำเคยทุจริตต่อหน้าที่จนต้องติดคุก
1.1.2. นายล้ำมาหาแม่ลออ เพื่อทวงสิทธิความเป็นพ่อ
1.1.3. ซึ่งปัจจุบันพระยาภักดีนฤนาถได้ชับเลี้ยงเหมือนบุตรีและกำลังจะแต่งงาน
1.1.4. พระยาภักดีเกรงว่าแม่ลออจะเสื่อมเสียและต้องทุกข์ใจจึงพยายามกีดกัน
1.1.5. เมื่อนายล้ำได้พบแม่ลออ ความดีและภาพพ่อที่แสนดีในใจของแม่ลอทำให้นายล้ำสำนึกได้
1.1.6. และยอมจากไปโดยไม่เปิดเผยตัวตน
1.2. ตัวละคร
1.2.1. นายล้ำ
1.2.1.1. ชายวัยประมาณ 40 ปี
1.2.1.2. หน้าตาเหี่ยวย่น ผมหงอก ดูเป็นคนดื่มเหล้าจัด
1.2.1.3. มีอุปนิสัยเห็นแก่ตัว รักความสบาย
1.2.1.4. แต่ในตอนท้ายเรื่องสำนึกในความเป็นพ่อได้เห็นความดีของแม่ลออ
1.2.2. พระยาภักดีนฤนาถ
1.2.2.1. ชายอายุรุ่นราวคราวเดียวนายล้ำ
1.2.2.2. การแต่งกายภูมิฐาน เป็นผู้มีอำนาจราชศักดิ์
1.2.2.3. แม้แม่ลออจะเป็นเพียงลุกเลี้ยง แต่พระยาภักดีก็เลี้ยงดูแม่ลออย่างดี
1.2.2.4. เป็นห่วงเป็นใยอนาคตของแม่ลออประหนึ่งลูกในไส้
1.2.3. แม่ลออ
1.2.3.1. หญิงสาวอายุ 17 ปี
1.2.3.2. ได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ดี
1.2.3.3. กิริยามารยาทและจิตใจ เป็นคนมองดลกในแง่ดี
1.2.3.4. เป็นลูกของนายล้ำกับแม่นวล
1.3. ฉาก
1.3.1. ห้องหนังสือภายในบ้านของพระยาภักดีนฤนาถ
1.3.2. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่ในช่วงสมัยร.๖
2. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
2.1. ลักษณะคำประพันธ์
2.1.1. บทละครพูด
2.1.2. ร้อยแก้ว
2.2. ศิลปะการประพันธ์
2.2.1. ใช้ภาษาเข้าใจง่าย มีการบรรยายกิริยาอาการ ความรู้สึกแทรกไว้
2.2.2. มีคำอุทานในบทสนทนา
2.2.2.1. เอ้า!
2.2.2.2. อ๊าย!
2.2.3. มีการใช้ภาษาพูดในยุคสมัยนั้น
2.2.3.1. หล่อน
2.2.3.2. เทียว
2.2.3.3. กระได
2.2.4. มีการใช้คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
2.2.4.1. ออฟฟิศ
2.2.4.2. กรีนโซดา
2.2.5. มีการใช้เครื่องหมายวรรคตอนตามรูปแบบของภาษาอังกฤษ
2.2.5.1. ,
2.2.5.2. .
3. ข้อคิดและการประยุกต์ใช้
4. คุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม
4.1. สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมการแต่งงาน
4.1.1. มีการรดน้ำอวยพรจากผู้ใหญ่
4.2. ค่านิยมไทยสมัยก่อน
4.2.1. สตรีผู้ดีไม่จำเป็นต้อทำงานนอกบ้านและแต่งงานเมื่ออายุยังน้อย
4.3. สังคมไทยสมัยก่อน
4.3.1. มีการถ่ายรูป
4.3.2. ยกย่องชื่นชมการทำมาหากินอย่างสุจริต
4.3.3. ผู้ที่ทำผิดทางกฏหมายจะไม่ได้รับการยอมรับทางสังคม