บทที่2 โลกาภิวัตน์และ ICT กับนัยสำคัญต่อการศึกษารัฐศาสตร์ร่วมสมัย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่2 โลกาภิวัตน์และ ICT กับนัยสำคัญต่อการศึกษารัฐศาสตร์ร่วมสมัย by Mind Map: บทที่2 โลกาภิวัตน์และ ICT กับนัยสำคัญต่อการศึกษารัฐศาสตร์ร่วมสมัย

1. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐชาติกับโลกาภิวัตน์

1.1. ความพยายามที่จะรักษาอธิปไตยของรัฐ

1.1.1. ความสัมพันธ์ของรัฐรูปแบบใหม่เติบโตไปพร้อมกับระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

1.2. โลกาภิวัตน์ได้แทรกซึมอัตลักษณ์ทางการเมืองและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม

1.3. โลกาภิวัตน์มีอิทธิพลต่อองค์ประกอบทางวัฒนธรรมภายในชาติและความสำนึกชาตินิยม

1.3.1. การอพยพโยกย้่ายแรงงานที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมไปสู่ระบบตลาดแรงงานในภาคอุตสาหกรรม

2. โลกาภิวัตน์ส่งผลกระทบต่อรัฐชาติอย่างไร

2.1. ท้าทายต่ออำนาจอธิปไตยของรัฐชาติ

2.2. ท้าทายต่อรูปแบบต่างๆที่เป็นการเมือง

2.2.1. อาทิ รัฐบาล ประชาธิปไตย การเลือกตั้งองค์กรของรัฐบาลแบบข้ามชาติ

2.3. เพิ่มความซับซ้อนให้กับการเมือง

2.3.1. เกิดการเมืองระดับรากหญ้าในพื้นที่ที่อยู่นอกเหนืออาณาบริเวณเช่น การเมืองเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองอันลักษณ์ประจำชาตินิยม

2.3.2. การเคลื่อนไหวทางสังคมแบบใหม่

3. โลกาภิวัตน์เป็นยุคของกระแสนิยม

3.1. กระแสที่ไหลตัดข้ามพรมแดนมาประกอบของกระแสเป็นผู้คน เงินตรา ทรัพยากร สินค้า ข่าวสาร ความคิด อุดมการณ์

3.1.1. กระแสที่ไหลผ่านมาอยู่ในขอบข่ายของรัฐชาติล้วนส่วผลต่อความเปลี่ยนแปลงของความเป็นชาติ

4. กระบวนการโลกาภิวัฒน์แพร่กระจายทั่วโลก

4.1. รัฐชาติถูกหล่อหลอมให้เป็นผลผลิตของภาพจินตนาการทางการเมืองของสัมคมยุโรป

4.2. รัฐชาติถูกครอบงำโดยระบบทุนนิยม

4.3. ทุนนิยมได้เปลี่ยนรูปแบบรัฐให้เป็นรัฐสมัยใหม่

5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออำนาจรัฐ

5.1. อำนาจรัฐเสื่อมถอยลงเป็นผลมาจากการกำกับ ควบคุมขององค์กรระดับโลก

5.1.1. องค์กรการค้าโลก

5.1.2. องค์กรสหประชาชาติ

5.1.3. กองทุนเงินระหว่างประเทศ

5.1.4. ธนาคารโลก

5.2. องค์กรนอกภาครัฐแบบข้ามชาติท้าทายอำนาจของรัฐชาติ

5.2.1. องค์กรการเมืองนอกภาครัฐทำให้มุมมองแบบเสรีนิยมใหม่มีอำนาจในการทำลายความคิดของผู้คน

5.2.2. การรวมตัวและเคลื่อนไหวทางการเมือง

6. แนวทางการแก้ไขไม่ให้ตกเป็นเบี้ยล่างของตลาดในยุคโลกาภิวัตน์

6.1. การใช้สื่อเป็นตัวกลางโน้มน้าวชักจูงประชาชน

6.1.1. ยกตัวอย่าง ให้ดาราและน้กร้องคนในชาตินั้นๆเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการผลิตสื่อ เพื่อดึงดูดคนในชาติมีความรู้สึกร่วมและมีความรู้สึกว่าวัฒนธรรมท้องถิ่นไม่ได้หายไป

6.1.2. พยายามใช้สื่อปรับให้เข้ากับบริบทของวัฒนธรรมท้องถิ่นนั้นๆ

6.2. รัฐต้องสร้างกำแพงให้โลกไร้พรมแดนจำกัดอยู่ในขอบเขตของอำนาจรัฐ

6.3. รัฐต้องจัดการปกครองรูปแบบใหม่และปรับเปลี่ยนโครงสร้างรัฐทัดเทียมระดับโลก

6.4. การปรับเปลี่ยนรูปแบบผลผลิตในระบบอุตสาหกรรมผสมผสานความเป็นเอกลักษณ์ของชาตินั้นๆ

7. โลกาภิวัตน์นำพาซึ่งความเสี่ยง

7.1. ความเสี่ยงที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์

7.2. ความเสี่ยงที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม

7.3. ความเสี่ยงด้านสุขภาพ

7.4. สังคมที่ไม่เท่าเทียมกัน

7.4.1. บางประเทศหวังพึ่งผลประโยชน์จากโลกาภิวัตน์และถูกทำให้ตกเป็นประเทศชายขอบ