การฟื้นฟูมลพิษทางดินที่ปนเปื้อนของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การฟื้นฟูมลพิษทางดินที่ปนเปื้อนของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรม by Mind Map: การฟื้นฟูมลพิษทางดินที่ปนเปื้อนของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรม

1. มลพิษทางดิน

1.1. หมายถึง ดินที่เสื่อมค่าไปจากเดิม และหรือมีสารมลพิษเกินขีดจำกัดจนเป็นอันตรายต่อสุขภาพและพลานามัย ตลอดจนการเจริญเติบโตของพืชและสัตว์ ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม

2. ผลกระทบของปัญหามลพิษจากภาคอุตสาหกรรม

2.1. ผลกระทบของสารพิษในห่วงโซ่อาหารในการเคลื่อนย้ายสารพิษและเชื้อโรคในห่วงโซ่อาหาร โดยยกตัวอย่าง การดำรงชีวิตของเชื้อโรค L. monocytogenes ในดิน ได้รับอิทธิพลจากปัจจัย ต่าง ๆ เช่น องค์ประกอบของดินและการอยู่รอดของ จุลชีพต่าง ๆ ในดิน ส่งผลต่อการคงอยู่ในสิ่งแวดล้อมของ เชื้อโรคนี้ ผลที่มาจากสภาพอากาศ (แสงแดดและฝน)

3. แนวทางการฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติต่อมลพิษทางดิน

3.1. เทคโนโลยีในการบำบัดดิน ปนเปื้อน

3.1.1. เทคโนโลยีการฟื้นฟูในพื้นที่โดยวิธีทางชีวภาพ

3.1.2. เทคโนโลยีการฟื้นฟูในพื้นที่ โดยวิธีทางกายภาพ/เคมี

3.1.3. เทคโนโลยีการฟื้นฟูในพื้นที่ โดยวิธีใช้ความร้อน

3.1.4. เทคโนโลยีการฟื้นฟูนอกพื้นที่ โดยวิธีทาง ชีวภาพ/เคมี

3.1.5. เทคโนโลยีการฟื้นฟูนอกพื้นที่ โดยวิธีทางความ ร้อน

3.1.6. เทคโนโลยีการสกัดการเคลื่อนที่

4. มลพิษทางดินจากกากของเสียและสิ่งปฏิกูล

4.1. กากอุตสาหกรรมไม่อันตราย

4.2. กากอุตสาหกรรมอันตราย

5. มลพิษทางดินจากสารเคมีอุตสาหกรรม

5.1. ปุ๋ยเคมีที่ประกอบด้วยธาตุหลักสำคัญของพืช เมื่อใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้ดินเปรี้ยว มีสภาพความเป็นกรดสูงไม่เหมาะสมแก่การปลูกพืช

5.2. การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (pesticides) ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะมีฤทธิ์ทำลายสิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นชนิดที่ให้ประโยชน์หรือโทษต่อการเกษตรกรรม แม้แต่ผลกระทบต่อมนุษย์ด้วยสารเคมีที่สลายตัวได้ช้าจะตกค้างในดิน

6. สาเหตุ

6.1. มลสารที่ก่อให้เกิดมลพิษดิน

6.1.1. มลสารที่มีชีวิต

6.1.2. มลสารเคมี

6.1.3. มลสารกัมมันตรังสี

6.2. สาเหตที่ก่อให้เกิดมลพิษในดิน

6.2.1. ดินเสียโดยธรรมชาติ

6.2.2. ดินเสียเพราะการกระทำมนุษย์

7. แนวคิดในการจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน

7.1. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่งนั้นจะต้องคำนึงถึงทรัพยากร ทุกอย่างไปพร้อมๆกันไม่ควรพิจารณาเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว

7.2. ในการวางแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมจะต้องไม่แยกมนุษย์ออกจากสภาพแวดล้อมทางสังคมหรือทางวัฒนธรรมและ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

7.3. โครงการพัฒนาทุกโครงการ ย่อมมีผลกระทบ ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา เศรษฐกิจต้องใช้ ทรัพยากร ผู้ดำเนินการตามโครงการจึง ต้องมีความรอบรู้และรู้จักวิธีการจัดการอย่างชาญฉลาด

7.4. คนเราต้องไม่ลืมว่า การอนุรักษ์นั้นเป็นหนทางแห่งการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ดังนั้น การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ วัฒนธรรม จะต้องคำนึงถึงการอนุรักษ์ไว้เป็นรากฐานสำคัญ เพื่อการอยู่รอดของสังคมมนุษย์ในอนาคต

7.5. ทุกคนมีส่วนเกี่ยวข้องในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการสิ่งแวดล้อม

8. การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนย้ายของสารพิษ

8.1. ดิน

8.2. น้ำ

8.3. อากาศ

8.4. สิ่งมีชีวิต

9. มลพิษทางดินจากน้ำทิ้งอุตสาหกรรม

9.1. น้ำเสียที่เกิดจากกระบวนการอุตสาหกรรม ตั้งแต่ขั้นตอนการล้างวัตถุดิบ กระบวนการผลิตจนถึงการทำความสะอาดโรงงาน

9.2. ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานปลาป่น โรงงาน ผลิตภัณฑ์ นม โรงโม่แป้ง โรงงานทําอาหารกระป๋อง

10. มลพิษทางดินจากอากาศเสีย

10.1. การเคลื่อนย้ายสารพิษของ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ไม่มีการจัดการอย่างถูกต้องอาจ ปล่อยสารกัมมันตภาพรังสีสร้างขึ้นภายในเครื่องปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ออกสู่พื้นที่โดยรอบที่มีสารกัมมันตภาพรังสี ซีเซียมและกัมมันตภาพรังสีไอโอดีน ออกสู่ชั้นบรรยากาศ สารไอโซโทปในกัมมันตภาพรังสีที่เป็นก๊าซและสารระเหย บางชนิดอาจถูกพัดผ่านไปได้ วัสดุกัมมันตภาพรังสีที่มอง ไม่เห็นจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับขนนกหรือเมฆควันกระจาย ตัวไปสู่ชั้นบรรยากาศโดยบางส่วนจะตกลงบนพื้นดินส่งผล ต่อการปนเปื้อนในดิน