มาตรฐานที่เกี่ยวข้องด้านอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรสุขภาพ (Health care worker)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มาตรฐานที่เกี่ยวข้องด้านอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรสุขภาพ (Health care worker) by Mind Map: มาตรฐานที่เกี่ยวข้องด้านอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรสุขภาพ (Health care worker)

1. มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

1.1. แบ่งมาตรฐานเป็นองค์ประกอบทั้งหมด 5 องค์ประกอบ

1.1.1. องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

1.1.1.1. รพศ./รพท. ข้อ1-9

1.1.1.1.1. ข้อ 1 กำหนดนโยบายด้านการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ครอบคลุมการดูแลบุคลากรในโรงพยาบาล ผู้ประกอบอาชีพอื่นๆ ในพื้นที่ และ ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่

1.1.1.1.2. ข้อ 2 มีการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

1.1.1.1.3. ข้อ 3 มีการติดตามประเมินผล โครงการพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงานของโรงพยาบาล (Clinic) หรือการติดตามประเมินผลแผนงาน/โครงการทางด้าน อาชีวอนามัย (Non Clinic)

1.1.1.1.4. ข้อ 4 มีการจัดแบ่งโครงสร้างกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม ตามกรอบโครงสร้างของกระทรวงสาธารณสุข

1.1.1.1.5. ข้อ 5 มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม (เข้าประชุม หรือรับการอบรมที่มีการพัฒนาองค์ความรู้ หรือศึกษาต่อ)

1.1.1.1.6. ข้อ 6 มีการจัดการความรู้ด้านงานอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม (KNOWLEDGE MANAGEMENT)

1.1.1.1.7. ข้อ 7 มีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานทางด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1.1.1.1.8. ข้อ 8 การทำงานร่วมกับเครือข่ายภายนอกในพื้นที่เพื่อพัฒนางานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมการทำงานระดับจังหวัด และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1.1.1.1.9. ข้อ 9 การสนับสนุนให้โรงพยาบาลชุมชนดำเนินการจัดบริการ อาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

1.1.1.2. รพช ข้อ 1-8

1.1.1.2.1. ข้อ 2 มีการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

1.1.1.2.2. ข้อ 3 มีผู้รับผิดชอบหลักงานด้านอาชีวอนามัย หรือเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ตามโครงสร้างกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิ และองค์รวมของกระทรวงสาธารณสุข หรือจัดตั้งเป็นกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม

1.1.1.2.3. ข้อ 4 บุคลากรตามข้อ 3 ได้รับการพัฒนาศักยภาพ (เข้าประชุม หรือรับการอบรมที่มีการพัฒนาองค์ความรู้ หรือศึกษาต่อ) ด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1.1.1.2.4. ข้อ 5 มีการจัดการความรู้ด้านงานอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม (KNOWLEDGE MANAGEMENT)

1.1.1.2.5. ข้อ 6 มีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานทางด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1.1.1.2.6. ข้อ 7 การทำงานร่วมกับเครือข่ายภายนอกในพื้นที่เพื่อพัฒนางานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมการทำงานระดับจังหวัด และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1.1.1.2.7. ข้อ 8 มีการสนับสนุน เช่น การถ่ายทอดองค์ความรู้ การฝึกอบรม การพัฒนาสื่อ/คู่มือ สร้างระบบเครือข่ายสนับสนุนบุคลากรในการร่วมออกปฏิบัติงาน เพื่อให้ รพ.สต.เกิดการดำเนินการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

1.1.1.3. รพ.สต. 5 ข้อ

1.1.1.4. 5.1.2 จัดให้มีนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของโรงพยาบาล

1.1.2. องค์ประกอบที่ 2 การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรในโรงพยาบาล

1.1.2.1. รพศ./รพท. ข้อ 10-19

1.1.2.1.1. ข้อ 10 มีการเดินสำรวจแผนกต่างๆ และประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน Risk assessment ของบุคลากรในโรงพยาบาล โดยใช้แบบ RAH 01 หรือแบบฟอร์มอื่นๆ และมีการประเมิน ติดตาม และสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยง

1.1.2.1.2. ข้อ 11 มีการควบคุมคุณภาพการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงจากการทำงาน (โดยบุคลากรที่ผ่านการอบรม หรือผ่านการทดสอบความรู้จากกระทรวงสาธารณสุข องค์กรวิชาชีพ หรือ สถาบันทางวิชาการ)

1.1.2.1.3. ข้อ 12 มีผลการตรวจประเมินสภาพแวดล้อมการทำงานด้วยเครื่องมืออาชีวสุขศาสตร์ และมีหลักฐานแสดงแผนงาน/โครงการเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม หรือเฝ้าระวังสุขภาพ ที่สอดคล้องกับผลการตรวจประเมินสภาพแวดล้อมการทำงาน

1.1.2.1.4. ข้อ 13 มีการให้วัคซีนพื้นฐานที่จำเป็นครอบคลุมบุคลากรกลุ่มเสี่ยง

1.1.2.1.5. ข้อ 14 มีการเก็บสิ่งส่งตรวจทางชีวภาพ ตามแนวทางปฏิบัติทางวิชาการ และนำส่งห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทุกพารามิเตอร์ของสารเคมีที่ส่งตรวจ

1.1.2.1.6. ข้อ 15 ผลการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง ผลการตรวจสุขภาพทั่วไป และผลการตรวจสภาพแวดล้อมการทำงานแผนกเสี่ยง วิเคราะห์ และเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลด้านสุขภาพและสภาพแวดล้อมการทำงาน

1.1.2.1.7. ข้อ 16 มีคู่มือ/แนวทางปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน

1.1.2.1.8. ข้อ 17 โรงพยาบาลจัดเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย (การฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ เตรียมความพร้อมภาวะฉุกเฉินด้านสารเคมีหรือรังสี ฯลฯ )

1.1.2.1.9. ข้อ 18 มีการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานในแผนกต่างๆ ของโรงพยาบาลที่มีความเสี่ยงระดับปานกลางขึ้นไป

1.1.2.1.10. ข้อ 19 มีการเก็บข้อมูลอัตราความถี่ของการบาดเจ็บในกลุ่มบุคลากร (Injury Frequency Rate : IFR)

1.1.2.2. รพช. ข้อ 9-18

1.1.2.2.1. ข้อ 9 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของโรงพยาบาล และมีการประชุม/รายงานการประชุม ติดตามงาน

1.1.2.2.2. ข้อ 10 มีการเดินสำรวจแผนกต่างๆ และประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน Risk assessment ของบุคลากรในโรงพยาบาล โดยใช้แบบ RAH 01 หรือแบบฟอร์มอื่นๆ และมีการประเมิน ติดตาม และสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยง

1.1.2.2.3. ข้อ 11 การตรวจประเมินสภาพแวดล้อมการทำงานแก่หน่วยงานในโรงพยาบาลด้วยเครื่องมืออาชีวสุขศาสตร์

1.1.2.2.4. ข้อ 12 มีการให้วัคซีนพื้นฐานที่จำเป็นครอบคลุมบุคลากรกลุ่มเสี่ยง

1.1.2.2.5. ข้อ 13 มีรายงานสถานการณ์ผลการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง ผลการตรวจสุขภาพทั่วไป และผลการตรวจสภาพแวดล้อมการทำงานแผนกเสี่ยง วิเคราะห์ และเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลด้านสุขภาพและสภาพแวดล้อมการทำงาน ต่อเนื่องกันอย่างน้อย 3 ปี

1.1.2.2.6. ข้อ 14 มีการให้บริการฝึกอบรมด้านอาชีวอนามัยความปลอดภัย และภาพแวดล้อมในการทำงาน

1.1.2.2.7. ข้อ 15 มีคู่มือ/แนวทางปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน

1.1.2.2.8. ข้อ 16 โรงพยาบาลจัดเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย (การฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ เตรียมความพร้อมภาวะฉุกเฉินด้านสารเคมีหรือรังสี ฯลฯ )

1.1.2.2.9. ข้อ 17 มีการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานในแผนกต่างๆ ของโรงพยาบาลที่มีความเสี่ยงระดับปานกลางขึ้นไป

1.1.2.2.10. ข้อ 18 มีการเก็บข้อมูลอัตราความถี่ของการบาดเจ็บในกลุ่มบุคลากร (Injury Frequency Rate : IFR)

1.1.2.3. รพ.สต. 5 ข้อ

1.1.3. องค์ประกอบที่ 3 การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมเชิงรุกแก่ ผู้ประกอบอาชีพภายนอก

1.1.4. องค์ประกอบที่ 4 การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมเชิงรับ การประเมิน การวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วยโรค/อุบัติเหตุจากการทำงาน การส่งต่อ และการฟื้นฟูสมรรถภาพ

1.1.5. องค์ประกอบที่ 5 การดำเนินงานจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

1.2. แบ่งมาตรฐานตามประเภทหน่วยบริการสุขภาพ

1.2.1. สำหรับรพศ./รพท. จำนวน 48 ข้อ

1.2.2. สำหรับรพช. จำนวน 42 ข้อ

1.2.3. สำหรับรพ.สต. จำนวน 25 ข้อ

2. มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ

2.1. แบ่งมาตรฐานออกเป็น 9 ด้าน

2.1.1. ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ

2.1.2. ด้านที่ 2 ด้านการบริการสุขภาพ

2.1.3. ด้านที่ 3 มาตรฐานอาคารสถานที่และสิ่งอำนวย

2.1.4. ด้านที่ 4 ด้านสิ่งแวดล้อม

2.1.4.1. 4.1 การกำหนดนโยบายและการจัดการสิ่งแวดล้อม

2.1.4.1.1. 4.1.1 มีนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม

2.1.4.1.2. 4.1.2 มีการกำหนดโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดการสิ่งแวดล้อม

2.1.4.2. 4.2 การจัดการมูลฝอย (มูลฝอยทั่วไป, มูลฝอยติดเชื้อ,วัสดุและกากของเสียอันตราย)

2.1.4.3. 4.3 การจัดการน้ำเสีย

2.1.4.4. 4.4 การจัดการน้ำอุปโภคและบริโภค

2.1.4.5. 4.5 การจัดการระบบส่องสว่าง

2.1.4.5.1. มีการตรวจวัดแสงสว่างในพื้นที่ปฏิบัติงานพื้นที่ให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง

2.1.4.6. 4.6 การจัดการมลพิษทางเสียง

2.1.4.6.1. มีการกำหนดมาตรการ และวิธีการป้องกันการควบคุมมลพิษทางเสียง เช่น ห้องเครื่องห้องอัดอากาศ พื้นที่ก่อสร้าง เป็นต้น มีการปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดอย่างเคร่งครัด

2.1.4.7. 4.7 การควบคุมมลพิษทางอากาศ

2.1.4.7.1. มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

2.1.4.8. 4.8 การลดปริมาณของเสีย

2.1.4.9. 4.9 การจัดการด้านพลังงาน

2.1.5. ด้านที่ 5 ความปลอดภัย

2.1.5.1. 5.1 การจัดการด้านความปลอดภัย

2.1.5.1.1. 5.1.1 จัดให้มีผู้รับผิดชอบหรือคณะทำงานที่ทำหน้าที่รับผิดชอบงานด้านความปลอดภัยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล

2.1.5.1.2. 5.1.3 จัดให้มีแผนงาน งบประมาณ ติดตามประเมินผล รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานด้านความความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานประจำปี

2.1.5.2. 5.2 กฎ ระเบียบ มาตรฐานหรือคู่มือด้านความปลอดภัยในการทำงาน

2.1.5.2.1. 5.2.1 จัดให้มีกฎ ระเบียบ มาตรฐานหรือคู่มือปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน เหมาะสมกับบริบทของโรงพยาบาล

2.1.5.2.2. 5.2.2 จัดทำมาตรการหรือแผนรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินตามปัจจัยเสี่ยงของโรงพยาบาล

2.1.5.2.3. 5.2.3 มีวิธีการควบคุม กำกับ ติดตามประเมินผล การปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ มาตรฐานหรือคู่มือความปลอดภัยในการทำงาน มาตรการหรือแผนรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน และมีการทบทวน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งอย่างต่อเนื่อง

2.1.5.3. 5.3 การอบรมบุคลากร

2.1.5.3.1. 5.5 การจัดการแบบแปลนแผนผังงานระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง

2.1.5.3.2. 5.3.1 มีการอบรมหรือให้ความรู้บุคลากรทุกระดับตามช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสมและทั่วถึง เกี่ยวกับกฎ ระเบียบ คู่มือความปลอดภัยในการทำงานของโรงพยาบาล และมีการทบทวนความรู้ตามระยะเวลาที่เหมาะสม

2.1.5.3.3. 5.3.2 มีการฝึกอบรมให้ความรู้เฉพาะด้านของบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับงานในระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูงหรือลักษณะงานอื่นที่มีความเสี่ยง ตามบริบทของโรงพยาบาลโดยวิธี on the job training หรือส่งอบรมภายนอก

2.1.5.4. 5.4 สภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในการทำงานตามปัจจัยเสี่ยงของบุคลากร

2.1.5.4.1. ประเมินความเสี่ยงในระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบปรับและระบายอากาศ ระบบก๊าซทางการแพทย์ ระบบไอน้ำ ระบบลิฟต์ ระบป้องกันและระงับอัคคีภัย และระบบสุขาภิบาล

2.1.5.4.2. 5.4.1 จัดให้มีการตรวจวัดหรือประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงานตามปัจจัยเสี่ยงของบุคลากร อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

2.1.5.4.3. 5.4.2 จัดให้มีการตรวจสุขภาพของบุคลากรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

2.1.5.4.4. 5.4.3 มีการตรวจสอบ ประเมิน ค้นหาความเสี่ยงในระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

2.1.5.4.5. 5.4.4 มีแผนการตรวจสอบ ทดสอบ และบำรุงรักษา อุปกรณ์ เครื่องจักรกล ในระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูงตามกำหนด อย่างต่อเนื่อง

2.1.5.4.6. 5.4.5 มีแนวปฏิบัติฉุกเฉินเมื่อระบบทางด้านวิศวกรรมความเสี่ยงสูง อาทิ เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบก๊าซทางการแพทย์ ระบบสุขาภิบาลหรือระบบอื่นตามบริบทของโรงพยาบาล ไม่สามารถใช้งานได้

2.1.5.5. 5.5 การจัดการแบบแปลนแผนผังงานระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง

2.1.5.5.1. 5.5.1 มีแบบแปลนแผนผังหรือรายละเอียดข้อมูลของระบบทางวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง

2.1.5.5.2. 5.5.2 มีระบบการจัดเก็บ ทบทวน แบบแปลนแผนผังหรือรายละเอียดข้อมูลของระบบทาง วิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง

2.1.5.6. 5.6 การตรวจสอบประสิทธิภาพระบบทางวิศวกรรมของห้องที่ให้บริการทางการแพทย์ที่สำคัญ

2.1.5.7. 5.7 คุณภาพของระบบไฟฟ้า

2.1.5.8. 5.8 การจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย

2.1.5.8.1. 5.8.1 มีนโยบายความปลอดภัยด้านการจัดการป้องกันและระงับอัคคีภัย มีผู้รับผิดชอบหรือคณะทำงานในการจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยของโรงพยาบาล

2.1.5.8.2. 5.8.2 มีการประเมินสถานภาพการจัดการป้องกันและระงับอัคคีภัยและทบทวนตามระยะเวลาที่เหมาะสม

2.1.5.8.3. 5.8.3 มีกระบวนการในการจัดการความเสี่ยงด้านอัคคีภัย

2.1.5.8.4. 5.8.4 มีคู่มือระบบการป้องกันและระงับอัคคีภัยของโรงพยาบาล

2.1.5.8.5. 5.8.5 มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของโรงพยาบาล

2.1.5.8.6. 5.8.6 มีการฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้นและอพยพหนีที่สอดคล้องกับกฎหมาย

2.1.5.8.7. 5.8.7 มีการตรวจสอบ ทดสอบ บำรุงรักษาระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ

2.1.5.8.8. 5.8.8 ความพร้อมของเส้นทางหนีไฟ

2.1.5.8.9. 5.8.9 จัดเตรียมพื้นที่ หรือกำหนดจุดปลอดภัยในพื้นที่รักษาพยาบาลที่ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้สะดวก

2.1.5.8.10. 5.8.10 จัดเตรียมพื้นที่จุดรวมพลภายนอกอาคารขณะเกิดอัคคีภัย

2.1.5.9. 5.9 ระบบก๊าซทางการแพทย์

2.1.5.10. 5.10 พื้นที่กำเนิดรังสี

2.1.5.10.1. 5.10.1 กำหนดหรือบ่งชี้บริเวณพื้นที่ที่มีรังสี มีเครื่องหมาย ป้ายเตือนอันตรายจากรังสี สัญญาณเตือนภัยที่สอดคล้องกับกฎหมายหรือมาตรฐาน ติดแสดงให้เห็นโดยชัดเจน

2.1.5.10.2. 5.10.2 มีป้ายสัญลักษณ์ ป้ายเตือนภัยตามแบบมาตรฐานในบริเวณพื้นที่กำเนิดรังสี

2.1.5.10.3. 5.10.3 มีเอกสารแสดงผลการตรวจสอบความปลอดภัยของรังสีจากหน่วยงานรับผิดชอบ

2.1.6. ด้านที่ 6 ด้านเครื่องมืออุปกรณ์ ทางการแพทย์

2.1.7. ด้านที่ 7 ระบบสนับสนุนบริการที่สำคัญ

2.1.8. ด้านที่ 8 สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ

2.1.9. ด้านที่ 9 การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์