หน่วยทางภาษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หน่วยทางภาษา by Mind Map: หน่วยทางภาษา

1. สมาชิก

1.1. นางสาว ชลิตา หนูเหลือง เลขที่ 16

1.2. นางสาว ณฐมล ภูมี เลขที่ 17

1.3. นางสาว ถลัชนันท์ เจ๊ะดอเราะห์ เลขที่ 18

1.4. นางสาว ปรางฉาย นะคะจัด เลขที่ 21

1.5. นางสาว ปิยธิดา คิดนุนาม เลขที่ 22

2. ประโยค

2.1. โครงสร้าง

2.1.1. สามัญ

2.1.1.1. มีใจความสำคัญเดียว

2.1.1.2. ประธาน+กริยา+(กรรม)+ส่วนขยาย

2.1.2. รวม

2.1.2.1. คล้อยตามกัน

2.1.2.1.1. และ

2.1.2.1.2. กับ

2.1.2.1.3. แล้ว…ก็

2.1.2.1.4. แล้ว…จึง

2.1.2.2. ขัดแย้งกัน

2.1.2.2.1. แต่

2.1.2.2.2. แต่ทว่า

2.1.2.2.3. ถึง…ก็

2.1.2.2.4. กว่า…ก็

2.1.2.3. เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

2.1.2.3.1. หรือ

2.1.2.3.2. หรือไม่

2.1.2.3.3. มิฉะนั้น…ก็

2.1.2.3.4. หรือไม่ก็

2.1.2.4. เป็นเหตุเป็นผลกัน

2.1.2.4.1. จึง

2.1.2.4.2. ฉะนั้น

2.1.2.4.3. เพราะ…จึง

2.1.2.4.4. ดังนั้น

2.1.3. ซ้อน

2.1.3.1. คุณานุประโยค

2.1.3.1.1. ขยาย

2.1.3.2. วิเศษณานุประโยค

2.1.3.2.1. ขยาย

2.1.3.3. นามานุประโยค

2.1.3.3.1. เป็นประธาน กรรม

2.1.3.3.2. ส่วนเติมเต็ม

2.2. เจตนา

2.2.1. ถามให้ตอบ

2.2.1.1. มีคำแสดงคำถาม

2.2.2. บอกให้ทำ

2.2.2.1. อ้อนวอน

2.2.2.2. ขอร้อง

2.2.2.3. เชิญชวน

2.2.2.4. ออกคำสั่ง

2.2.3. แจ้งให้ทราบ

2.2.3.1. บอกเล่า

2.2.3.2. ปฏิเสธ

3. คำ

3.1. ชนิด

3.1.1. คำนาม

3.1.1.1. สามานยนาม

3.1.1.1.1. ชื่อทั่วไป

3.1.1.2. วิสามานยนาม

3.1.1.2.1. ชื่อเฉพาะ

3.1.1.3. สมุหนาม

3.1.1.3.1. อยู่รวมกันเป็นหมู่

3.1.1.4. อาการนาม

3.1.1.4.1. เกิดจาก “การ” หรือ “ความ”

3.1.1.5. ลักษณนาม

3.1.1.5.1. แสดงลักษณะของนาม

3.1.2. คำสรรพนาม

3.1.2.1. บุรุษสรรพนาม

3.1.2.1.1. ที่1

3.1.2.1.2. ที่2

3.1.2.1.3. ที่3

3.1.2.2. ประพันธสรรพนาม

3.1.2.2.1. เชื่อม2ประโยคให้มีความสัมพันธ์กัน

3.1.2.3. วิภาคสรรพนาม

3.1.2.3.1. ใช้แทนคำนาม

3.1.2.4. นิยมสรรพนาม

3.1.2.4.1. ชี้เฉพาะเจาะจง

3.1.2.5. อนิยมสรรพนาม

3.1.2.5.1. บอกความไม่เจาะจง

3.1.2.6. ปฤจฉาสรรพนาม

3.1.2.6.1. ความหมายเป็นคำถาม

3.1.3. คำอุทาน

3.1.3.1. บอกอาการ

3.1.3.2. เสริมบท

3.1.4. คำกริยา

3.1.4.1. อกรรมกริยา

3.1.4.1.1. ไม่ต้องมีกรรม

3.1.4.2. วิกตรรถกริยา

3.1.4.2.1. ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง

3.1.4.2.2. อาศัยคำชนิดอื่นมาช่วย

3.1.4.3. สกรรมกริยา

3.1.4.3.1. มีกรรม

3.1.4.4. กริยานุเคราะห์

3.1.4.4.1. ช่วยให้กริยาอื่นที่อยู่ข้างหลังได้ความสมบูรณ์

3.1.5. คำวิเศษณ์

3.1.5.1. ลักษณวิเศษณ์

3.1.5.1.1. บอกลักษณะ

3.1.5.2. กาลวิเศษณ์

3.1.5.2.1. บอกเวลา

3.1.5.3. สถานวิเศษณ์

3.1.5.3.1. บอกสถานที่

3.1.5.3.2. ระยะทาง

3.1.5.4. ประมาณวิเศษณ์

3.1.5.4.1. บอกจำนวน

3.1.5.4.2. ปริมาณ

3.1.5.5. นิยมวิเศษณ์

3.1.5.5.1. บอกความชี้เฉพาะ

3.1.5.5.2. กำหนดแน่นอน

3.1.5.6. อนิยมวิเศษณ์

3.1.5.6.1. ไม่แน่นอน

3.1.5.7. ปฤจฉาวิเศษณ์

3.1.5.7.1. คำถาม

3.1.5.7.2. ความสงสัย

3.1.5.8. ประติชญาวิเศษณ์

3.1.5.8.1. ใช้ในการเรียนขาน

3.1.5.8.2. โต้ตอบกัน

3.1.5.9. ประติเษธวิเศษณ์

3.1.5.9.1. บอกความปฏิเสธ

3.1.5.10. ประพันธวิเศษณ์

3.1.5.10.1. เชื่อมประโยค ให้เกี่ยวข้องกัน

3.1.6. คำบุพบท

3.1.6.1. สถานที่

3.1.6.2. เวลา

3.1.6.3. ความเป็นเจ้าของ

3.1.6.4. ที่มา หรือ สาเหตุ

3.1.6.5. ฐานะเป็นผู้รับ

3.1.6.6. ฐานะเครื่องใช้

3.1.7. คำสันธาน

3.1.7.1. คล้อยตามกัน

3.1.7.1.1. กับ

3.1.7.1.2. และ

3.1.7.1.3. ทั้ง…และ

3.1.7.1.4. ทั้ง…ก็

3.1.7.1.5. ครั้น…ก็

3.1.7.1.6. ครั้น…จึง

3.1.7.1.7. พอ…ก็

3.1.7.2. ขัดแย้งกัน

3.1.7.2.1. แต่

3.1.7.2.2. แต่ว่า

3.1.7.2.3. ถึง…ก็

3.1.7.2.4. กว่า…ก็

3.1.7.3. เป็นเหตุเป็นผลกัน

3.1.7.3.1. จึง

3.1.7.3.2. เพราะ…จึง

3.1.7.3.3. เพราะฉะนั้น…จึง

3.1.7.4. เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

3.1.7.4.1. หรือ

3.1.7.4.2. หรือไม่ก็

3.1.7.4.3. ไม่เช่นนั้น

3.1.7.4.4. มิฉะนั้น

3.2. การสร้าง

3.2.1. คำมูล

3.2.1.1. พยางค์เดียว

3.2.1.2. หลายพยางค์

3.2.2. คำประสม

3.2.2.1. สองคำขึ้นไป

3.2.2.2. ความหมายคำต่างกัน

3.2.3. คำซ้อน

3.2.3.1. สองคำขึ้นไป

3.2.3.2. ความหมายเหมือนกัน

3.2.3.3. ความหมายต่างกัน

3.2.4. คำซ้ำ

3.2.4.1. ซ้ำรูปและความหมายของคำเดิม

3.2.4.2. เครื่องหมาย ”ๆ”

3.2.5. คำสมาส

3.2.5.1. สมาส

3.2.5.1.1. ภาษาบาลี-สันสกฤตรวมกันเท่านั้น

3.2.5.1.2. พยางค์สุดท้ายของคำหน้า มีรูปสระอะ หรือ ไม้ทัณฑฆาตให้ตัดออก

3.2.5.1.3. คำที่มีการลงท้าย

3.2.5.2. สนธิ

3.2.5.2.1. คำบาลี-สันสกฤตมาเชื่อมกัน หรือ กลมกลืนเสียง

3.2.5.2.2. สระสนธิ

3.2.5.2.3. พยัญชนะสนธิ

3.2.5.2.4. นิคหิตสนธิ

4. พยางค์

4.1. เปิด

4.1.1. ไม่มีเสียงพยัญชนะท้าย

4.2. ปิด

4.2.1. มีเสียงตัวสะกด

4.3. เป็น

4.3.1. สะกดด้วยมาตรา กน กม เกย เกอว กง

4.3.2. สระเสียงยาว

4.4. ตาย

4.4.1. สะกดด้วยมาตรา กก กบ กด

4.4.2. สระเสียงสั้น

5. เสียง

5.1. พยัญชนะ

5.1.1. ต้น

5.1.1.1. เดี่ยว

5.1.1.2. ประสม

5.1.1.2.1. ควบแท้

5.1.1.2.2. ควบไม่แท้

5.1.2. ท้าย

5.1.2.1. เป็น

5.1.2.2. ตาย

5.2. สระ

5.2.1. เดี่ยว

5.2.1.1. สั้น

5.2.1.2. ยาว

5.2.2. ประสม

5.2.2.1. สั้น

5.2.2.2. ยาว

5.3. วรรณยุกต์

5.3.1. สามัญ

5.3.2. เอก

5.3.3. โท

5.3.4. ตรี

5.3.5. จัตวา