ชนิดของคำ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ชนิดของคำ by Mind Map: ชนิดของคำ

1. 2. คำสรรพนาม

1.1. คำสรรพนาม

1.1.1. การใช้คำสรรพนามในการสื่อสาร

1.1.1.1. 1. สรรพนามแทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ที่กล่าวถึงหรือคิดถึง

1.1.1.2. 2. สรรพนามใช้ชี้ระยะ

1.1.1.3. 3. สรรพนามใช้ถาม

1.1.1.4. 4. สรรพนามบอกความไม่เจาะจง

1.1.1.5. 5. สรรพนามบอกความชี้ซ้ำ

1.1.1.6. 6. สรรพนามเชื่อมประโยค

1.1.1.7. 7. สรรพนามใช้เน้นนามตามความรู้สึกของผู้พูด

2. 3. คำกริยา

2.1. 1) กริยาใช้เป็นส่วนขยายของคำนาม

2.2. 2) กริยาใช้เหมือนคำนาม

3. 4. คำวิเศษณ์

3.1. ข้อควรสังเกต

3.1.1. 1. คำบางคำอาจทำหน้าที่เป็นคำวิเศษณ์ และในบางโอกาสทำหน้าที่เป็นคำกริยาสำคัญใน ประโยค

3.1.2. 2. คำนามบางคำ อาจทำหน้าที่ขยายคำอื่นได้ ซึ่งในกรณีนี้ถือว่าคำนามคำนั้น ทำหน้าที่ คำวิเศษณ์

3.1.3. 3. ในการเรียงคำเข้าประโยคในภาษาไทย ส่วนใหญ่เรามักให้ส่วนขยายตามหลังคำที่ขยาย

4. 1. คำนาม

4.1. คำนาม คือ

5. 5. คำสันธาน

5.1. ข้อสังเกต

5.1.1. 1. คำสันธาน อาจมีความหมายช่วยให้เราเข้าใจ

5.1.2. 2. ต่อไปนี้เป็นคำสันธานที่เชื่อมคำกับคำ หรือกลุ่มคำกับกลุ่มคำ

5.1.3. 3. คำสันธานบางคำใช้เข้าคู่กัน

5.1.4. 4. คำสันธานอาจอยู่ในตำแหน่งต่างๆ

5.1.5. 5. มีคำบางคำกรณีก็ใช้เป็นบุพบท บางกรณีก็ใช้เป็นสันธาน

5.1.6. 6. คำสันธานอาจเป็นกลุ่มคำก็ได้

6. 7. คำอุทาน

6.1. 1. คำอุทานมักอยู่ข้างหน้าประโยค

6.2. 2. คำอุทานอาจมีลักษณะเป็นกลุ่มคำก็ได้

6.3. 3. คำอุทานชนิดหนึ่ง เรียกว่า คำอุทานเสริมบท

6.4. 4. คำที่พบในโคลง

7. 6. คำบุพบท