การวิธีการแบบต้นไม้

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การวิธีการแบบต้นไม้ by Mind Map: การวิธีการแบบต้นไม้

1. แผนผังการตัดสินใจแบบต้นไม้

1.1. ลักษณะแผนผังตัดสินใจแบบต้นไม้

1.1.1. แผนผังตัดสินใจแบบต้นไม้ (Decision Tree Diagram หรือเรียกกันทั่วไปว่า Decision Tree ) เป็นแผนผังแบบต้นไม้ที่มาจากการเลือกเงื่อนไขต่างๆ ที่กำหนดไว้ ตั้งแต่เงื่อนไขเบื้องต้น และเงื่อนไขลำดับต่อๆ มาจนถึงเงื่อนไขสุดท้ายที่เกี่ยวข้องในการนำมาพิจารณาประกอบรวมกัน

1.2. องค์ประกอบของแผนผังสำหรับอธิบายกระบวนการ

1.2.1. แผนผังที่อธิบายกระบวนการทำงานจะประกอบด้วยโหนดเงื่อนไขตัดสินใจ และมีก้านแสดงการเลือกเป็นตัวเชื่อมกับโหนดเงื่อนไขถัดไปตามลำดับที่สอดคล้องกับกระบวนการทำงาน และเชื่อมต่อไปเรื่อยๆ จนได้ผลลัพธ์การตัดสินใจสุดท้ายว่าจะดำเนินการต่อไปอย่างไร

1.3. การเขียนแผนผังในภาคปฏิบัติ

1.3.1. การเขียนคำอธิบายการประมวลผลแบบต้นไม้นั้น นิยมใช้กับกระบวนการที่มีลักษณะการทำงานที่ซับซ้อนและมีการเก็บลำดับขั้นตอนการตัดสินใจ

2. ข้อพิจารณาในการเลือกใช้แผนผังตัดสินใจแบบต้นไม้

2.1. ข้อได้เปรียบ-เสียเปรียบของแผนผังต้นไม้

2.1.1. โครงสร้างแบบต้นไม้มีลำดับชัดเจน

2.1.2. 2. มีความสะดวกและง่ายต่อการทำความเข้าใจแต่ต้องใช้พื้นที่มากในการเขียน

2.2. ลักษณะการอธิบายที่เหมาะสมสำหรับแผนผังต้นไม้

2.2.1. เงื่อนไขในกระบวนการการทำงานมีลำดับก่อน-หลังชัดเจน

2.2.2. มีเงื่อนไขที่แตกย่อยต่อเนื่องออกไปหลากหลาย

3. แผนผังแบบต้นไม้

3.1. ลักษณะแผนผังแบบต้นไม้

3.1.1. ต้นไม้แบบต้นไม้ (Tree Diagram) มีรูปร่างเหมือนต้นไม้ที่มีกิ่งก้านและใบ แต่วางแบบกลับหัวลงหรือนอนตะแคงไปทางไล่ไล่ลำดับเริ่มจากลงล่างและจากเครื่องบินไปทาง

3.2. แผนผังแบบต้นไม้

3.2.1. จะเรียกตามชื่อองค์ประกอบต้นไม้ ได้แก่ ราก (Root) กิ่ง (Branch) และใบ (Leaf) โดยจุดที่แตกเป็นกิ่งก้านแต่ละจุดเรียกโหนด (Node)

3.3. แผนผังแบบไบนารี

3.3.1. ต้นไม้แบบต้นไม้แบบไบนารี (Binary Tree Diagram หรือ B-Tree Diagram) เป็นต้นไม้แบบต้นไม้ที่มีกิ่งแตกออกมาไม่เกิน 2 ในแต่ละชั้น

4. ขั้นตอนการสร้างแผนผัง

4.1. การสร้างโครงสร้างลำดับการตัดสินใจ

4.1.1. 1. เขียนโหนดแรกเป็นจุดเริ่มต้นการตัดสินใจ

4.1.2. 2. แตกกิ่งของเงื่อนไขแรกเป็นเงื่อนไขถัดไป

4.1.3. 3. แตกกิ่งของเงื่อนไขไปจนหมดเงื่อนไขที่เกิดขึ้น

4.1.4. 4. ทุกๆ โหนดจะมีคำถามตั้งให้เราตอบ

4.1.5. 5. คำตอบของโหนดจะนำไปสู่โหนดคำถามถัดไปหรือนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ

4.1.6. 6. กรณีกระบวนการที่อธิบายมีขั้นตอนเลือกเพียง 2 ทาง (ใช้ กับไม่ใช่) สามารถเลือกแผนผังแบบ B-Tree ได้

4.2. เขียนโครงสร้างต้นไม้

4.2.1. 1. เริ่มเขียนที่รากต้นไม้ก่อน โดยใช้เงื่อนไขแรกเป็นจุดเริ่มต้น

4.2.2. 2. แตกกิ่งจากเงื่อนไขแรกไปสู่เงื่อนไขถัดไป

4.2.3. 3. ทำตามขั้นตอนที่ 2 จนครบทุกเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ

4.2.4. 4. ที่กิ่งให้เขียนสิ่งที่ตัดสินใจเลือก หรือการกระทำที่เป็นผลลัพธ์ของตัดสิ้นใจเลือก