
1. เซลล์กัลวานิก
1.1. เข็มของโวลท์มิเตอร์จะเบนตามการไหลของอิเล็กตรอน แอโนด -----> แคโทด
1.2. ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน
1.2.1. เสียอิเล็กตรอน
1.2.2. ขั้วแอโนด
1.2.3. ขั้วลบของวงจร
1.2.4. ผุกร่อน(ปริมาณโลหะลดลง)
1.2.5. เข็มโวลต์มิเตอร์เบนออก
1.3. ครึ่งเซลล์รีดักชั่น
1.3.1. รับอิเล็กตรอน
1.3.2. ขั้วแคโทด
1.3.3. ขั้วบวกของวงจร
1.3.4. หนาขึ้น(ปริมาณโลหะเพิ่มขึ้น)
1.3.5. เข็มโวลต์มิเตอร์เบนเข้าหา
1.4. สะพานเกลือ
1.4.1. เป็นตัวเชื่อมวงจรภายใน ทำหน้าที่รักษาสมดุลไอออนบวกและไอออนลบในแต่ละครึ่งเซลล์
1.5. แผนภาพเซลล์กัลวานิก
1.5.1. เขียนครึ่งเซลล์ออกซิเดชันไว้ทางซ้าย ครึ่งเซลล์รีดักชันไว้ทางขวา คั่นด้วยสะพานเกลือ สัญลักษณ์ //
1.5.2. ใยแต่ละครึ่งเซลล์เขียนเรียงตามลำดับจากนอกไปใน
1.5.3. ครึ่งเซลล์ใดไม่มีของแข็งนำอิเล็กตรอน (แก๊สและไออน) ให้วางขั้วเฉื่อย Pt,C ไว้นอกสุด
1.6. ครึ่งเซลล์ Zn(s)/Zn2+(aq) ครึ่งเซลล์ Cu(s)/Cu2+(aq)
1.7. Anode
1.7.1. Reduction
1.7.2. ตัวรีดิวซ์
1.7.3. ขั้วแอโนด Zn(s)
1.7.4. ออกซิไดส์ Cu2+
1.8. Cathode
1.8.1. Oxidation
1.8.2. ตัวออกซิไดส์
1.8.3. ขั้วแคโทด Cu(s)
1.8.4. รีดิวซ์ Zn2+
2. ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน (E0)
2.1. ค่าที่ใช้เปรียบเทียบความสามารถในการรับอิเล็กตรอน
2.2. E0น้อย ออกซิเดชั่น
2.3. E0มาก รีดักชั่น
2.4. E0 ใ้ช้แยกครึ่งปฎิกิริยาดีที่สุด
2.5. 2H2O(s)+2e- ----> H2(g)+2OH-(aq) E0= -0.83V
2.6. 1/2O2(g)+2H+(aq)+3e- ---> H2O(l) E0=+1.23
2.7. E0รีดักชัน ในปฎิกิริยารีดักชัน ไม่ต้องกลับเครื่องหมาย E0ชิงอิเล็กตรอน
2.8. E0ออกซิเดชั่น กลับเครื่องหมานย+เป็น- -เป็น + E0จ่าย ให้อิเล็กตรอน
3. E0 เซลล์กัลวานิก
3.1. E0ชิงมาก เกิดปฎิกิริยารีดักชันได้ดี
3.2. E0ชิงน้อย เกิดปฎิกิริยาออกซิเดชันได้ดี
3.3. E0ให้มาก เกิดปฎิกิริยาออกซิเดชั่นได้ดี
3.4. E0ให้น้อย เกิดปฎิกิริยารีดักชันได้ดี
3.5. E0cell = E0Oxidation - E0 Reduction
3.6. E 0cell= E0ให้ + E0ชิง
3.7. กำหนดค่าE0ชิง
3.7.1. E0cell = Ecathode - Eanode
3.8. กำหนดค่าE0ให้
3.8.1. E0cell = Eanode - Ecathode