Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สถิติ by Mind Map: สถิติ

1. ความหมายของสถิติ

1.1. ตัวเลขสถิติ

1.1.1. จำนวนหรือค่าที่ได้จากการรวบรวมข้อมูล แสดงถึง ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ อย่างมีความหมาย เช่น ปริมาณน้ าฝนที่ตกในแต่ละปี ปริมาณการส่งสินค้าออก เป็นต้น

1.2. วิชาสถิติหรือสถิติศาสตร์

1.2.1. ศาสตร์ว่าด้วยระเบียบวิธีทางสถิติซึ่ง ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of Data) การนำเสนอข้อมูล (Presentation of Data) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data) และการแปลความหมายข้อมูล (Interpretation of Data)

2. ประเภทของข้อมูล

2.1. ข้อมูลสถิติ(Statistical Data) คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมในรูปของตัวเลขเพื่อนำมา ประมวลผลหาความหมายที่แน่นอน

2.1.1. ประเภทของข้อมูลสถิติ

2.1.1.1. แบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล

2.1.1.1.1. ข้อมูลปฐมภูมิ

2.1.1.1.2. ข้อมูลทุติยภูมิ

2.1.1.2. แบ่งตามลักษณะของข้อมูล

2.1.1.2.1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือข้อมูลที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็นจำนวนได้โดยตรงแต่อธิบายลักษณะ หรือสมบัติในเชิงคุณภาพได้เช่น เพศ ความคิดเห็น คุณภาพของสินค้า

2.1.1.2.2. ข้อมูลเชิงปริมาณ คือข้อมูลที่ใช้แทนขนาดหรือปริมาณซึ่งวัดออกมาเป็นจำนวนที่สามารถ นำมาใช้เปรียบเทียบกันได้โดยตรง แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ

2.1.1.3. แบ่งตามสเกลของหลักการวัดข้อมูล

2.1.1.3.1. สเกลนามบัญญัติ (Nominal Scale)

2.1.1.3.2. สเกลอันดับ (Ordinal Scale)

2.1.1.3.3. สเกลอันตรภาค (Interval Scale)

2.1.1.3.4. สเกลอัตราส่วน (Ratio Scale)

2.2. ข้อมูลดิบ (Raw Data) คือ ข้อมูลที่ยังไม่ผ่านการประมวลผลทางสถิติจะเรียกว่า

3. ความสำคัญ

3.1. ช่วยประกอบในการตัดสินใจ

3.2. การบันทึกข้อมูล การบริหารจัดการ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ

3.3. การวางแผนดำเนินงาน

3.4. การนำเสนอดูได้ง่าย

3.5. ตรวจสอบข้อมูลได้ง่าย

4. สถิติอ้างอิง (สถิติอนุมาน)

4.1. เป็นสถิติที่มุ่งศึกษา เพื่อหาข้อสรุปเรื่องราวของประชากร โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มย่อยที่เรียกว่า กลุ่มตัวอย่าง (Sample) แล้วนำผลการศึกษาไปสรุปอ้างอิงถึงกลุ่มใหญ่ที่เรียกว่า กลุ่มประชากร (Population)

4.1.1. ค่าต่างๆ ที่คํานวณได้จากข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากกลุ่มตัวอย่าง เรียกว่า ค่าสถิติ(Statistic)

4.2. สถิติอ้างอิงครอบคลุมเนื้อหาสําคัญ 2 เรื่อง ได้แก่การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน

4.2.1. การประมาณค่า

4.2.1.1. เป็นการประมาณค่าแท้ของประชากร เรียกว่าค่าพารามิเตอร์ (Parameter) โดยใช้ค่าสถิติ(Statistic) ที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง

4.2.2. การทดสอบสมมติฐาน

4.2.2.1. เป็นการทดสอบสมมติฐานทางสถิติเพื่อสรุป อ้างอิงค่าสถิติต่างๆ ไปยังกลุ่มประชากร กล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการทดสอบความมีนัยสําคัญทางสถิติ