การอ่านเพื่ิอการเรียน การสอน ห้องสมุด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การอ่านเพื่ิอการเรียน การสอน ห้องสมุด by Mind Map: การอ่านเพื่ิอการเรียน การสอน ห้องสมุด

1. ผู้สอน

1.1. มีฐานความรู้ที่เข้มแข็ง มีทักษะ

1.2. อ่านเพื่อพัฒนาวิชาชีพ

1.2.1. ตรวจสอบประเด็น ปัญหา หาวิธีปรับปรุงแก้ไข

1.2.2. เพิ่มพูนความรู้ในวิชาที่สอน

1.2.3. เกิดความรู้ความเข้าใจ ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ

1.3. ติดตามความเคลื่อนไหว และแนวโน้มใหม่ๆ

1.4. ช่วยในการวิจัย / ศึกษาต่อ

1.5. ช่วยพัฒนาตน

1.6. ช่วยให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ

2. ห้องสมุดจะทำ

2.1. จัดหาหนังสือที่ตรงกับความสนใจและพอเพียง

2.2. ร่วมมือกับผู้สอนในการส่งเสริมให้นักเรียน เข้าใช้ห้องสมุด

2.3. จัดช่องทางที่เหมาะสมในการเข้าถึงหนังสือและวัสดุการอ่าน

2.3.1. INS to insert (Windows)

2.3.2. TAB to insert (Mac OS)

2.3.3. ENTER to add siblings

2.3.4. DEL to delete

2.3.5. Press F1 to see all key shortcuts

2.4. ร่วมมือกับผู้สอนเพื่อเชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆให้เข้ากับการอ่าน

2.4.1. ฟังเพลง

2.4.1.1. Personal Todo List

2.4.1.2. Vacation Planning

2.4.1.3. Meeting Minutes

2.4.1.4. Project Plan

2.4.1.5. more...

2.4.2. กีฬา

2.4.3. ดูหนัง

2.4.4. ทัศนศึกษา

2.5. จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย สม่ำเสมอ

2.6. จัดห้องสมุดให้มีสภาพแวดล้อมเกื้อกูลต่อการอ่าน

2.7. มี ชม.บริการที่ยืดหยุ่น เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสเช้าใช้ห้องสมุด

2.8. บรรณารักษ์รู้จักหนังสือ สามารถแนะนำหนังสือที่เหมาะสมกับแต่ละวัยไ้ด้

3. สร้างการรักการอ่าน

3.1. ผู้สอนเป็นแบบอย่างในการอ่าน

3.2. จัดหาหนังสือ และวัสดุการอ่านที่สนับสนุนการเรียนรู้อย่างเพียงพอ

3.2.1. เน้นหลักสูตรเป็นสำคัญ

3.2.2. ตอบสนองการเรียนทุกระดับ

3.2.3. อาศัยการวางแผนอย่างรอบคอบ ร่วมมือระหว่างครูกับบรรณารักษ์

3.2.4. มีแหล่งเรียนรู้ภายใน ภายนอก

3.3. ใช้วิธีการสอนที่เน้นการค้นคว้าหาคำตอบ

3.3.1. เด็กเกิดกระบวนการเีรียนรู้ จากการค้นหาและใช้สารสนเทศจากหลาย ๆแหล่ง เพื่อช่วยให้เข้าใจปัญหาหรือประเ็ด็นที่ศึกษา

3.3.2. เด็กมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ เชื่อมโยงการเรียนรู้เข้ากับชีวิตประจำวัน

3.4. สร้างแรงจูงใจ

3.4.1. นักเรียนมีโอกาสเลือกอ่านได้ด้วยตนเอง

3.4.2. เลืิอกหนังสือที่มีลักษณะที่นักเรียนชอบ

3.4.3. เข้าถึงได้โดยสะดวก

3.4.4. ตรงกับความสนใจของนักเรียน

3.4.5. การมีส่วนร่วมของผู้มีบทบาทสร้างแรงจูงใจในการอ่าน เช่น พ่อแม่ ครู ผู้ปกครอง บรรณารักษ์ เพื่ิอน ฯลฯ

4. ผู้เรียน

4.1. พัฒนาสติปัญญา จินตนาการ

4.2. เพิ่มพูความรู้ ทั้งเชิงกว้างและลึก

4.3. ช่วยพัฒนาการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์

4.4. เกิดสมาธิ

4.5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

4.6. อ่านมากจะมีทักษะในการจัดลำดับความสำคัญของเป้าหมาย กิจกรรม ทักษะในการแก้ปัญหา

4.7. ช่วยลดความเครียด

5. การอ่านโดยสมัครใจ

5.1. การอ่านที่นักเรียนเลือกตามใจตน ทั้งเรื่องที่อ่าน/เวลา/สถานที่

5.2. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

5.2.1. ช่วยพัฒนาความสามารถทางภาษา ทั้งทางคำศัพท์ ความเข้าใจในการอ่าน ทักษะการพูด และเขียน

5.3. อ่านโดยสมัครใจที่โรงเรียน

5.3.1. อ่านเงียบ ๆทุกวัน ในช่วงเวลาที่กำหนด

5.3.2. เลือกอ่านตามความพอใจ

5.3.3. อ่านในปริมาณมากเพิ่อความเพลิดเพลินใจ