การเขียนฟังก์ชันและโมดูล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเขียนฟังก์ชันและโมดูล by Mind Map: การเขียนฟังก์ชันและโมดูล

1. ความหมายของคำสั่ง

1.1. def เป็นคำสำคัญสำหรับการสร้างฟังก์ชัน

1.2. functionName เป็นช่ือของฟังก์ชัน

1.3. arguments ตัวแปรหรือข้อมูลที่จะรับเข้ามาเพื่อนำไปประมวลผลภายในฟังก์ชัน อยู่ภายในวงเล็บ ด้านหลังมี :

1.3.1. วิธีเรียกใช้จากโปรแกรมเดียวกัน

2. โมดูล

2.1. ความหมาย

2.1.1. สามารถนำฟังก์ชันเหล่านี้มาสร้างเป็นโมดูล

2.1.2. ประกอบไปด้วยคำสั่งประมวลผลการทำงาน

2.1.3. ส่วนของโปรแกรมท่ีใช้สาหรับกำหนดตัวแปร ฟังก์ชัน หรือคลาส

2.1.4. การใช้งานนั้นจะต้องนำเข้ามาใน โปรแกรมโดยวิธีที่เรียกว่า Import

2.2. การสร้างโมดูลในภาษา Python

2.2.1. นำแปร ฟังก์ชัน หรือคลาส ไปรวมไว้ในไฟล์ใหม่ท่ีไม่ใช้ไฟล์หลักของโปรแกรม ในรูปแบบ module_name.py

2.3. การนำโมดูลเข้าด้วยคำสั่ง import

2.3.1. import ชื่อโมดูล1,ชื่อโมดูล2,... และการเรียกใช้ฟังก์ชันในโมดูลมีรูปแบบดังนี้ ชื่อโมดูล.ชื่อฟังก์ชัน( )

2.4. การนำโมดูลเข้าด้วยคำสั่ง from...import

2.4.1. ออบเจ็คภายในโมดูลจะต้องนำหน้าด้วยช่ือโมดูลเสมอ

2.4.2. สำหรับนำเข้าข้อมูลบางส่วนภายในโมดูล และสามารถใช้งานออบเจ็คได้โดยตรงโดยไม่ต้องมี Prefix ช่ือของโมดูล

3. ฟังก์ชัน

3.1. การสร้างฟังก์ชัน

3.1.1. ขึ้นต้นว่า def และตามด้วยชื่อฟังก์ชัน

3.1.2. ชื่อจะต้องไม่ซ้ำกับคำสงวน

3.1.3. ระบุช่ือตัวแปรที่ต้องการให้เป็นอาร์กิวเมนต์ ซึ่งอยู่ภายในวงเล็บ ตัวแปรอาจมีมากกว่า 1 ตัว

3.2. ขอบเขตของตัวแปร

3.2.1. ขอบเขตในการอ้างอิงตัวแปรที่นิยามขึ้นใน โปรแกรมขอบเขตของตัวแปร

3.2.1.1. ตัวแปรเฉพาะที่

3.2.1.2. ตัวแปรส่วนกลาง

3.3. return [expression] การส่งค่าผลลัพธ์ใด ๆ ท่ีเกิดจากการประมวลผลภายในฟังก์ชัน

3.4. การเรียกใช้ฟังก์ชัน

3.4.1. วิธีเรียกใช้จากโปรแกรมอื่น

3.4.1.1. ใช้สำหรับการเขียนโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนซึ่งมักจะนำฟังก์ชันที่เขียน ข้ึนมา จัดเก็บเอาไว้เป็นไลบรารีอย่างเป็นระบบ เพื่อต้องการให้โปรแกรมต่าง ๆ สามารถเรียกใช้ได้ ผ่านคำส่ัง import

3.5. ใส่ไฟล์ .py ที่ต้องการรวมอยู่ในแพ็คเกจ เอาไว้ในโฟลเดอร์น้ัน

3.5.1. function suite คำส่ังหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ของฟังก์ชันที่ต้องการให้ทำงาน

3.6. ความหมาย

3.6.1. ส่วนของโปรแกรมท่ีเขียนขึ้นเพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างใดอย่างหนึ่งตาม ความต้องการ

3.6.2. มักจะแยกโค้ดที่มีการทำงานเหมือนกันเป็นฟังก์ชันเอาไว้ และเรียกใช้ฟังก์ชันนั้นซ้ำๆ ซึ่งเป็น แนวคิดของการ reuse โค้ด

3.7. ประโยชน์ของฟังก์ชัน

3.7.1. ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดได้ง่าย สะดวก

3.7.2. เขียนโปรแกรมสั้นลง

3.8. รูปแบบการสร้างฟังก์ชัน

3.8.1. ฟังก์ชันท่ีไม่มีการส่งค่าไปและไม่คืนค่ากลับ

3.8.2. ฟังก์ชันท่ีมีการส่งค่าไปแต่ไม่คืนค่ากลับ

3.8.3. ฟังก์ชันท่ีไม่มีการส่งค่าไปแต่คืนค่ากลับ

3.8.4. ฟังก์ชันท่ีมีท้ังการส่งค่าไปและคืนค่ากลับ

4. แพ็คเกจ

4.1. คือการกำหนดโครงสร้างของโมดูลในภาษา Python ที่เรียกว่า Namespace เพื่อจัด ระเบียบของโมดูลต่างๆ ให้เป็นหมวดหมู่เดียวกัน

4.2. แนวคิดเหมือนกับระบบจัดการไฟล์ใน ระบบปฏิบัติการซึ่งจะประกอบไปด้วยด้วยไฟล์และโฟล์เดอร์

4.3. __init__.py เป็นโปรแกรมศูนย์ควบคุมของโมดูล