
1. สุโขทัย
1.1. เครื่องดนตรี
1.1.1. ซอสามสาย
1.1.2. บัณเฑาะว์
1.1.3. ปี่โน
1.1.4. ฆ้อง
1.2. วงดนตรี
1.2.1. วงขับไม้
1.2.1.1. ผู้บรรเลง 3 คน
1.2.1.1.1. ผู้ขับนำ
1.2.1.1.2. ผู้เล่นซอสามสาย
1.2.1.1.3. ผู้ให้จังหวะ
1.2.2. วงบรรเลงพิณ
1.2.2.1. ผู้บรรเลง 1 คน
1.2.2.1.1. ดีดพิณเเละร้องพร้อมกัน
1.2.3. วงมโหรี
1.2.3.1. นำเอาวงบรรเลงพิณกับวงขับไม้มารวมกัน
1.3. บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับดนตรี
1.3.1. พ่อขุนรามคำเเหง
1.3.1.1. พบหลักฐานด้านดนตรีที่เป็นลายลักษณ์อักษร
1.3.1.2. พบในศิลาจารึก หลักที่ 1 เเละ 2
1.3.2. พระธรรมราชาที่ 1(พระยาลิไท)
1.3.2.1. พบหลักฐานในหนังสือไตรภูมิพระร่วง
1.3.2.1.1. ชาวไทยเล่นรื่นเริง ร้องเพลง เเละการบรรเลงดนตรีต่างๆ
1.4. เพลงไทยเดิม
1.4.1. เทพทอง
1.4.1.1. เป็นเพลงที่เก่าเเก่ที่สุด
1.4.1.2. เป็นเพลงจังหวะรวจเร็ว
1.4.2. เพลงขับไม้บัณเฑาะหว์
1.4.2.1. เป็นประเภทวงดนตรีในพระราชสำนัก
1.4.2.2. ใช้ในงานพระราชพิธี
2. รัตนโกสินทร์
2.1. รัชกาลที่ 1
2.1.1. วงปี่พากย์อย่างหนัก
2.1.1.1. เพิ่มกลองทัดเป็น2 ลูก
2.1.2. วงมโหรี
2.1.2.1. เพิ่มระนาดเอก 1 ราง
2.2. รัชกาลที่ 2
2.2.1. วงปี่พากย์เสภา
2.2.1.1. เปลี่ยนจากตะโพนเป็นสองหน้า
2.2.1.2. วงมโหรี
2.2.1.2.1. เพิ่มฆ้องวง 1 วง
2.3. รัชกาลที่ 3
2.3.1. วงปี่พากย์
2.3.1.1. เป็นวงปี่พากย์เครื่องคู่
2.3.2. เกิดเพลงสามชั้น
2.4. รัชกาลที่ 4
2.4.1. วงปี่พากย์
2.4.1.1. เปลี่ยนเป็นวงปี่พากย์เครื่องใหญ๋
2.4.2. เกิดวงมโหรีใหญ่
2.4.3. เกิดวงเครื่องสายปี่ชวา
2.4.4. เกิดเพลงประเภทเถาะ
2.4.4.1. นำเอาอัตราจังหวะในยุคก่อนมารวมกัน
2.5. รัชกาลที่ 5
2.5.1. เกิดวงปี่พากย์ไม้นวม
2.5.1.1. ใช้ขลุ่ยเเทนปี่
2.5.1.2. เพิ่ม ซออู้ 1 อัน
2.5.2. วงปี่พากย์ดึกดำบรรพ์
2.5.2.1. เป็นเพลงประกอบการเเสดง
2.5.2.2. ได้เเนวคิดจากละครโอเปรา
2.6. รัชกาลที่ 6
2.6.1. วงปี่พากย์
2.6.1.1. นำมาบรรเลงในงานศพ
2.6.2. นำ อังกะลุง จากชวามาเผยเเผ่ในเมืองไทย
2.6.3. นำเครื่องดนตรีมาผสมในวงเครื่องสาย
2.7. รัชกาลที่ 7
2.7.1. เพลงพระราชนิพนธ์
2.7.1.1. เพลง โหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง
2.7.1.2. เพลงเขมรลอองค์
2.7.1.3. เพลงราตรีประดับดาว
2.8. รัชกาลที่ 8
2.8.1. รัฐบาลไม่สนับสนุนดนตรีไทย
2.8.2. อาจารย์ มนตรี ตราโมช
2.8.2.1. เพลงระบำ
2.8.3. หลวงประดิษฐ์ ไพเราะ
2.8.3.1. เเสนคำนึง
2.9. รัชกาลที่ 9
2.9.1. พระเทพรัตนสุดา สยามมงกุฎราชกุมารี
2.9.1.1. เพลงไทยดำเนินดอย
2.9.2. พระราชทานทุน
2.10. รัชกาลที่ 10
2.10.1. ยึดตามสมัยรัชกาลที่ 9
3. อยุธยา
3.1. เครื่องดนตรี
3.1.1. จะเข้
3.1.2. ซออู้
3.1.3. ระนาดเอก
3.1.4. ซอด้วง
3.2. วงดนตรี
3.2.1. วงเครื่องสาย
3.2.1.1. มีเเต่เครื่องสี
3.2.2. วงมโหรี
3.2.2.1. มีวิวัฒนาการจากวมโหรีเครื่องสี่
3.2.2.2. เพิ่มเครื่องดนตรี
3.2.2.2.1. ขลุ่ย
3.2.2.2.2. รำมะนา
3.2.3. วงปี่พากย์อย่างหนัก
3.2.3.1. ใช้บรรเลงประกอบเเสดง
3.2.3.2. วิวัฒนาการจากวงปี่พากย์เครื่องห้า
3.2.3.2.1. เพิ่มระนาด
3.3. เพลงไทยเดิม
3.3.1. เพลงร้องมโหรี
3.3.1.1. ร้องเพื่อ ขับกล่อม
3.3.1.2. ใช้ขับร้องเเละบรรเลงมโหรี
3.3.2. เพลงปี่พากย์
3.3.2.1. ใช้ขับร้องเเละบรรเลงปี่พากย์
3.3.2.2. ใช้ประกอบโขน ละคร เเละพิธการ
3.3.3. เพลงภาษา
3.3.3.1. ใช้เลียนเสียงชาติต่างๆ
3.3.3.2. ใช้บรรเลงประกอบตัวละคร
3.4. บุคคลสำคัญที่มีความเกี่ยวข้องด้านดนตรี
3.4.1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
3.4.1.1. ออกกฎมณเฑียรบาล
3.4.1.1.1. ไม่ให้เล่นหรือร้องดนตรีในเขตพระราชฐาน