Thinking in Wonder World!

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Thinking in Wonder World! by Mind Map: Thinking in Wonder World!

1. หลักการ

1.1. เหตุของการคิด ต้นเหตุของการคิดคือสิ่งเร้าที่เป็นปัญหา หรือสิ่งเร้าที่เป็นความต้องการ หรือสิ่งเร้าที่ชวนสงสัย

1.1.1. สิ่งเร้าที่เป็นปัญหา

1.1.1.1. สิ่งเร้าประเภทสถานการณ์ เหตุการณ์ หรือสภาวะจำเป็นต้องคิด (Have to think)

1.1.2. สิ่งเร้าที่เป็นความต้องการ

1.1.2.1. เป็นความต้องการสิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิมในแง่ต่าง ๆ

1.1.3. สิ่งเร้าที่ชวนสงสัย

1.1.3.1. เป็นสิ่งเร้าแปลก ๆ ใหม่ ๆ ที่มากระตุ้นให้สงสัย อยากรู้ ซึ่งในสภาพการณ์เดียวกัน

2. ความหมาย ของการคิด

2.1. การคิด (Thinking) หมายถึง การทำงานของกลไกสมอง ที่เกิดจากสิ่งเร้าตามสภาพต่างๆ เพื่อให้เกิดจินตนาการ เพื่อนำไปแก้ปัญหา หาคำตอบ ตัดสินใจ ถ้าไม่คิดก็ไม่สามารถที่จะทำในเรื่องต่างๆได้

3. ทฤษฎี

3.1. ทฤษฏีแนวคิดเกี่ยวกับ “การคิด”จากต่างประเทศ

3.1.1. เลวิน (Lewin)

3.1.1.1. เชื่อว่า ความคิดของบุคคลเกิดจากการรับรู้สิ่งเร้า ซึ่งบุคคลมักรับรู้ในลักษณะภาพรวม

3.1.2. บลูม (Bloom) ได้จำแนกการรู้ ออกเป็น 5 ขั้น

3.1.2.1. การรู้ขั้นความรู้

3.1.2.2. การรู้ขั้นเข้าใจ

3.1.2.3. การรู้ขั้นวิเคราะห์

3.1.2.4. การรู้ขั้นสังเคราะห์ การรู้ขั้นประเมิน

3.1.2.5. การรู้ขั้นประเมิน

3.1.3. ทอแรนซ์ (Torrance) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์

3.1.3.1. ความคล่องแคล่วในการคิด (Fluency)

3.1.3.2. ความยืดหยุ่นในการคิด (Flexibility)

3.1.3.3. ความคิดริเริ่มในการคิด (Originality)

3.1.4. ออซูเบล (Ausubel)

3.1.4.1. การเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful Verbal Learning)

3.1.4.1.1. จะเกิดขึ้นได้ หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยง กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีมาก่อน

3.1.5. เพียเจต์ (Piaget)

3.1.5.1. ได้อธิบายพัฒนาการทางสติปัญญาว่า เป็นผลเนื่องมาจากการปะทะสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม โดยบุคคลพยายามปรับตัว

3.1.5.1.1. กระบวนการดูดซึม (Assimi-lation)

3.1.5.1.2. กระบวนการปรับให้เหมาะ (Accommodation)

3.1.6. บรุนเนอร์ (Bruner)

3.1.6.1. เด็กเริ่มต้นเรียนรู้จากการกระทำ ต่อไปจึงจะสามารถจินตนาการ สร้างภาพในใจหรือในความคิดขึ้นได้ แล้วจึงถึงขั้นการคิดและเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม

4. การคิดในรูปแบบต่างๆ

4.1. การคิดเชิงบวก

4.1.1. (Positive thinking)

4.2. การคิดนอกกรอบ

4.2.1. (Creative thinking)

4.3. การคิดเปรียบเทียบ

4.3.1. (Comparative thinking)

4.4. การคิดเชิงระบบ

4.4.1. (System thinking)

4.5. การคิดเชิงวิพากษ์

4.5.1. (Critical thinking)

4.6. การคิดเชิงวิเคราะห์

4.6.1. (Analytical thinking)